Page 59 - ไทยศึกษา
P. 59

แนวคดิ ในการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-49
หรืออาณาจักรกก็ วา้ งขวางไดม้ ากขึน้ ดงั ตัวอย่าง ทเ่ี ปรียบเทียบไดร้ ะหว่างบ้านเมืองไทยในสมัยโบราณท่ี
ปกครองกนั เปน็ รฐั อสิ ระหลายเมอื งขนาดยอ่ มทางภาคเหนอื กบั อสี าน และทร่ี วมกนั เปน็ อาณาจกั รใหญใ่ น
ภาคกลาง เชน่ กรุงศรีอยธุ ยา และกรงุ รัตนโกสินทร์

       สภาพภมู ศิ าสตรใ์ นระดบั ทพี่ น้ บรเิ วณภายในของสงั คมออกไป หมายถงึ โอกาสสาํ หรบั การตดิ ตอ่
สัมพันธ์กับสังคมอ่ืนของคนชาติภาษาอื่น ในสมัยปัจจุบันที่พรมแดนของประเทศมีเขตแสดงชัดเจน
ภูมิประเทศบรเิ วณชายแดนมสี ่วนส่งเสริมหรอื ขดั ขวางความสัมพันธ์กับประเทศเพอ่ื นบา้ นไดไ้ มน่ ้อย เชน่
ชายแดนไทยด้านตะวันตกและเหนือที่ติดต่อกับประเทศพม่า เป็นป่าและเขา มีช่องทางคมนาคมสะดวก
เพยี งบางจดุ เชน่ ดา่ นแมส่ อดในจงั หวดั ตาก หรอื ดา่ นพระเจดยี ส์ ามองคใ์ นจงั หวดั กาญจนบรุ ี ซง่ึ เปน็ ชอ่ งทาง
เดินทัพของไทยและพม่าในสมัยโบราณ ปัจจุบันน้ีใช้ประโยชน์ทางค้าขาย แต่ประชากรของประเทศพม่า
ทอี่ ยใู่ นบรเิ วณตดิ ชายแดนดา้ นนเี้ ปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธย์ุ อ่ ย เชน่ มอญ กะเหรย่ี ง และเงย้ี ว (ไทยใหญ)่ มากกวา่
ท่ีจะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์พม่าแท้ การดิ้นรนต่อสู้เรียกร้องเอกราชของกลุ่มต่างๆ นี้ ทําให้มีการใช้บรเิ วณ
ชายแดนทต่ี ดิ กบั ประเทศไทยเปน็ ฐานทตี่ ง้ั กองกาํ ลงั หรอื บรเิ วณอพยพลภี้ ยั ฯลฯ ซงึ่ ทาํ ใหก้ ารดาํ เนนิ ความ
สัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลมีความซับซ้อนและประณีตมาก ในขณะที่สังคมและวัฒนธรรมไทยในภูมิภาค
แถบน้ันมีลักษณะที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมข้ามพรมแดนต่างไปจาก
ภมู ิภาคอ่ืน

       ชายแดนประเทศไทยด้านอ่นื ๆ เช่น ทางตะวันออกเฉียงเหนือและตะวนั ออกทต่ี ิดต่อกับประเทศ
ลาวและประเทศกัมพูชา หรือทางใต้ที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ก็มีลักษณะภูมิประเทศต่างกันไป และ
กจิ กรรมกบั ความสมั พนั ธท์ ส่ี งั คมไทยในภมู ภิ าคนนั้ ๆ มกี บั สงั คมและวฒั นธรรมเพอ่ื นบา้ นกแ็ ตกตา่ งกนั ตาม
ความเหมาะสม จาํ เปน็ เชน่ บรเิ วณทมี่ เี ขตแดนกาํ หนดดว้ ยแมน่ ำ้� ใหญช่ ดั เจน กไ็ มม่ ปี ญั หาการลว่ งลำ�้ ดนิ แดน
โดยไมร่ ตู้ วั ได้ แตใ่ นบรเิ วณทเ่ี ปน็ ผนื แผน่ ดนิ ตดิ ตอ่ กนั เชน่ เขตจงั หวดั นา่ นหรอื อตุ รดติ ถท์ ต่ี ดิ กบั ประเทศลาว
หรอื เขตจงั หวดั ตราดทต่ี ดิ กบั ประเทศกมั พชู า การลว่ งลำ้� ดนิ แดนเกดิ ไดง้ า่ ย ทงั้ ในยามสงบและยามสงคราม
ถา้ ฝ่ายที่เปน็ เจา้ ของขาดการตรวจตราดแู ลและควบคุมอย่างรัดกุมและสมำ่� เสมอ

       การที่ประชาชนท้ังสองฟากพรมแดนมักเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันตามประวัติดั้งเดิม และต่อมา
มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละส่วนท่ีอยู่ในเขตของแต่ละประเทศ เพราะเหตุผลทาง
ประวัติศาสตร์ของระบบการบริหารปกครอง ทําให้กลุ่มสังคมวัฒนธรรมตามชายแดนเป็นส่วนของสังคม
ประเทศชาติท่ีมีลักษณะพิเศษเฉพาะแตกต่างไปจากสังคมส่วนอ่ืนของประเทศ ในสมัยโบราณท่ีไม่มีการ
ปักปนั เขตแดนกันได้อยา่ งชดั เจน และคอ่ นข้างถาวรอยา่ งในสมยั น้ี เขตอํานาจการปกครองจากศูนย์กลาง
คือเมืองหลวง อาจไม่สามารถครอบคลมุ กลมุ่ ทอ่ี ยรู่ อบนอกหรอื ชายแดนเหล่านี้ไดต้ ลอดเวลา โดยเฉพาะ
ถ้าภูมิประเทศทําให้ติดต่อควบคุมยาก หรือมีศูนย์อํานาจอ่ืนในบ้านเมืองข้างเคียงคอยมาช่วงชิงไปอยู่ใน
ปกครอง ดังที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ของหัวเมืองฝ่ายเหนือ ซ่ึงบางคร้ังข้ึนกับอํานาจปกครองของพม่า
และหวั เมอื งในภาคอสี าน ซง่ึ อยใู่ นระหวา่ งอาํ นาจของอาณาจกั รไทยและอาณาจกั รลาว ความสมั พนั ธเ์ ชน่ น้ี
มีผลกําหนดลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาคดังกล่าวได้มาก เพราะต้องรับอิทธิพลจากหลาย
แหล่งอาํ นาจ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64