Page 63 - ไทยศึกษา
P. 63

แนวคิดในการศึกษาสงั คมและวัฒนธรรมไทย ๑-53
       สภาพแวดลอ้ มทาง “ประวตั ศิ าสตร”์ คงบรรยายเปน็ ความเสยี หายเสอ่ื มโทรมอยา่ งทาง “ภมู ศิ าสตร”์
ไมไ่ ด้ พดู ไดแ้ ตว่ า่ มกี ารเปลย่ี นแปลงมาไมน่ อ้ ย และมผี ลตอ่ ลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยอยา่ งมาก
ตามเหตกุ ารณ์สาํ คญั ๆ ของแต่ละยุค

เร่ืองที่ ๑.๓.๓
ความรู้ความสามารถของคนในสังคม

       มนษุ ยจ์ ะกระทาํ ตอ่ สภาพแวดลอ้ มไดเ้ พยี งใด ขน้ึ อยกู่ บั ความรคู้ วามสามารถและอปุ กรณว์ ธิ กี ารท่ี
ตนมี คนทมี่ แี ตม่ อื เทา้ ยอ่ มขดุ ดนิ โคน่ ตน้ ไมไ้ มถ่ นดั เหมอื นคนทมี่ จี อบเสยี ม มดี ขวาน แตข่ วานมอื ทชี่ าวบา้ น
ใชต้ ดั ตน้ ไม้ กเ็ ปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มไดน้ อ้ ยกวา่ รถแทรกเตอร์ เครอื่ งทนุ่ แรงของบรษิ ทั ปา่ ไมน้ ายทนุ
ฯลฯ

       ความรู้ในการสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ก็ดี ความสามารถในการสร้างสัญลักษณ์ (คือ
การกําหนดความหมายและคุณค่าที่ไม่มีอยู่เองในธรรมชาติของส่ิงน้ันๆ ) เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน
ความคดิ เรอื่ งสทิ ธอิ าํ นาจ ความชอบธรรม ศลิ ปะ ศาสนา ศลี ธรรม ปรชั ญา ฯลฯ กด็ ี ทาํ ใหม้ นษุ ยใ์ นแตล่ ะ
กลมุ่ แต่ละสงั คมทีร่ ว่ มเรยี นร่วมรู้ และรว่ มใช้เคร่ืองมอื อุปกรณ์และความหมายกบั คุณคา่ นนั้ ๆ สรา้ งวิธกี าร
และกฎเกณฑ์สําหรับการอยู่ร่วมกัน กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันด้วยอุปกรณ์และวิธีการที่เป็นสิ่งสร้างสรรค์พ้น
สภาพธรรมชาตทิ มี่ อี ยเู่ องนน้ั คอื สงั คมทอี่ ยดู่ ว้ ยวฒั นธรรม ถา้ สามารถบอกสภาพความรคู้ วามสามารถใน
การสรา้ งทาํ อปุ กรณ์ วธิ กี ารดาํ รงชวี ติ ของคนกลมุ่ หนง่ึ ได้ กส็ ามารถบรรยายลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรม
นนั้ ได้

       ความรทู้ อี่ ยใู่ นสมองและความคดิ ของคนปจั จบุ นั ถา้ ไมบ่ อกเลา่ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจกไ็ มม่ ใี ครทราบไดว้ า่
มคี วามรู้นน้ั ๆ ความร้ขู องคนโบราณ ถ้าไม่มหี ลักฐานบนั ทกึ ไว้ คนรุ่นหลังกไ็ ม่อาจจะทราบได้

       เราอาจสันนษิ ฐานความรูบ้ างอย่างไดจ้ ากผลทีป่ รากฏ เป็นวตั ถุสงิ่ ของที่เห็นชัดว่ามิได้เปน็ เองใน
ธรรมชาติ แตเ่ กดิ จากการสรา้ งทาํ ของมนษุ ย์ ผลงานทสี่ นั นษิ ฐานวา่ ตอ้ งอาศยั ความรคู้ วามสามารถของมนษุ ย์
นอกจากท่ีเป็นรูปธรรมวัตถุแล้วก็มีท่ีเป็นนามธรรมที่ไม่ใช่วัตถุด้วย ผลงานท่ีเป็นนามธรรม จับต้องเป็น
ตัวตนวัตถุสิ่งของไม่ได้มีอยู่ในระเบียบกฎเกณฑ์ที่กําหนดและควบคุม การประพฤติปฏิบัติกิจการต่างๆ
ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการทํางานหรือการพักผ่อน กําหนดกิริยามารยาทท่ีคนจะกระทําต่อกัน รวมทั้ง
พิธีกรรมที่จะต้องทําต่ออํานาจลึกลับศักด์ิสิทธ์ิท่ีคนกลุ่มนั้นร่วมกันเชื่อว่ามีอยู่ ความคิดเกี่ยวกับความดี
ความงาม ความถูกความผิด ที่เป็นศีลธรรมจริยธรรมตามท่ีหมู่คณะยึดถือ ก็เป็นผลของความรู้ ความ
สามารถในการคดิ คน้ ของมนษุ ย์เช่นกัน
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68