Page 62 - ไทยศึกษา
P. 62
๑-52 ไทยศกึ ษา
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ คือเรื่องราวของเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคมมนุษย์ตามยุคตามสมัย
บางเหตกุ ารณเ์ ปน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ม่ี ผี จู้ ดจาํ บนั ทกึ ไว้ คนรนุ่ หลงั จงึ รไู้ ด้ เชน่ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว มดี าวหาง
ปรากฏ ฯลฯ แต่เหตุการณ์ส่วนใหญ่ในประวัติศาสตร์เป็นการกระทําของมนุษย์เอง เหตุการณ์สําคัญๆ
ทไ่ี มใ่ ชแ่ ตเ่ พยี งกจิ กรรมปกตปิ ระจาํ วนั ของชวี ติ ไมเ่ พยี งแตม่ ผี ลตอ่ ความเปน็ อยขู่ องผคู้ นในขณะนน้ั เทา่ นน้ั
แตอ่ าจสง่ ผลตกทอดมาถงึ คนรนุ่ หลงั ไดอ้ กี ชา้ นาน เหตกุ ารณเ์ ชน่ การประกาศพระไอยการตาํ แหนง่ นาพลเรอื น
และตําแหนง่ ทหารหัวเมืองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑) ในสมยั อยุธยา อันเป็น
ที่มาของระบบศักดินาท่ีมีผลต่อลักษณะของสังคมวัฒนธรรมไทยอีกหลายร้อยปี จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
ตอนต้นและถึงแม้จะมีการประกาศเลิกระบบไพร่และทาสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) รปู แบบของระบบศกั ดนิ ากย็ งั ตกคา้ งอยใู่ นสงั คมวฒั นธรรมไทยโดยนยั จนถงึ ทกุ วนั นี้
เหตกุ ารณใ์ นประวตั ศิ าสตรท์ ส่ี มเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกอู้ สิ รภาพหลงั กรงุ ศรอี ยธุ ยาแตกครงั้ ที่ ๑
(พ.ศ. ๒๑๑๒) กบั ที่สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชกู้บา้ นเมอื งไทย หลังกรุงแตกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐)
ตา่ งเปน็ เหตกุ ารณเ์ ฉพาะตวั ของสงั คมไทยทม่ี ผี ลตอ่ ลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยภายหลงั ตอ่ มาทง้ั สน้ิ
ในทำ� นองเดยี วกนั การทเ่ี จา้ ฟา้ มงกฎุ ฯ ขน้ึ ครองราชยเ์ ปน็ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั หลงั จาก
ท่ที รงพระผนวชอยู่ ๒๗ ปี ในช่วงทีก่ รมหมื่นเจษฎาบดนิ ทรเ์ ป็นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว กม็ ี
ผลตอ่ ลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยในสมยั ตอ่ มา แตท่ ง้ั นกี้ ต็ อ้ งพจิ ารณาประกอบกบั การแผอ่ าํ นาจ
อาณานคิ มของประเทศยโุ รป ตะวนั ตกในระยะนนั้ ดว้ ย ซงึ่ กเ็ ปน็ เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรอ์ กี เรอื่ งหนง่ึ เชน่ กนั
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์จึงเป็นอีกส่วนหน่ึงของสภาพแวดล้อมของสังคม นอกเหนือจากเงื่อนไข
ทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสภาพแวดล้อมในมิติของเวลา และมักจะเกิดจากฝีมือการกระทําของ
มนษุ ยเ์ อง มากกวา่ จากพลงั ของธรรมชาติ แตส่ ดุ ทา้ ยแลว้ ทงั้ ภมู ศิ าสตรแ์ ละประวตั ศิ าสตรก์ ร็ วมเปน็ ปจั จยั
สภาพแวดลอ้ มทมี่ สี ว่ นกาํ หนดลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยดว้ ย ถา้ ไมร่ ขู้ อ้ มลู ของสองเรอ่ื งนพี้ อเพยี ง
ก็ไม่สามารถเขา้ ใจลักษณะของสงั คมและวัฒนธรรมได้ชัดเจน
กิจกรรม ๑.๓.๒
ระหวา่ งสภาพแวดลอ้ มทาง “ภมู ศิ าสตร”์ กบั สภาพแวดลอ้ มทาง “ประวตั ศิ าสตร”์ ของสงั คมไทย
ท่านคดิ วา่ อยา่ งไหนไดร้ บั ความเสยี หายเสือ่ มโทรมมากกว่ากัน เม่ือมาถงึ คนไทยสมัยปจั จุบัน
แนวตอบกิจกรรม ๑.๓.๒
ความเส่ือมโทรมของสภาพแวดล้อมทาง “ภมู ิศาสตร์” ดูจะกล่าวขวัญกนั มากในสมยั นวี้ า่ เพราะ
มีประชากรเพ่ิมและใช้ทรัพยากรธรรมชาติกันอย่างไม่ประหยัด ฯลฯ แต่การเปล่ียนแปลงอย่างอื่น เช่น
การขยายทางคมนาคม ชว่ ยใหม้ กี ารตดิ ตอ่ คา้ ขาย ฯลฯ สะดวกขน้ึ การเปลยี่ นรปู แบบการใชป้ ระโยชนข์ อง
ท่ีดินตามจํานวนประชากร หรืออาชีพท่ีเพิ่มข้ึน ฯลฯ ไม่จําเป็นต้องเป็นความเสียหายด้วยในเชิงสังคม
การเมือง และเศรษฐกจิ