Page 67 - ไทยศึกษา
P. 67
แนวคิดในการศกึ ษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-57
เร่ืองที่ ๑.๓.๔
ความต้องการพอใจของคนในสังคม
มนุษย์จะกระทําการส่ิงใด ย่อมต้องมีความต้องการ หรือพอใจจะกระทําเป็นตัวกําหนด ไม่ใช่ทํา
ไปโดยอตั โนมตั ิ ตามสญั ชาตญาณ หรอื ตามธรรมชาตชิ วี ภาพบงั คบั เหมอื นอยา่ งอนิ ทรยี ท์ ม่ี ชี วี ติ ชนดิ อน่ื ๆ
คนที่มีความรู้ความสามารถท่ีจะกระทําการอย่างหน่ึงได้ แต่ไม่มีความต้องการหรือไม่พอใจจะทําก็ไม่ทํา
ความตอ้ งการพอใจจงึ เปน็ กลไกสาํ คญั ทคี่ วบคมุ การกระทาํ ผทู้ ไี่ มต่ อ้ งการจะทาํ แตถ่ กู บงั คบั ใหต้ อ้ งทาํ หรอื
ผทู้ ตี่ อ้ งการจะทาํ แตถ่ กู ยบั ยงั้ ขดั ขวางไมใ่ หท้ าํ เทา่ กบั เปน็ ผทู้ ไ่ี มม่ เี สรภี าพหรอื ถกู ลดิ รอนเสรภี าพ ซงึ่ มนษุ ย์
ถอื วา่ เป็นเรอื่ งสาํ คัญในชวี ติ ของมนุษย์
ความตอ้ งการของมนุษยม์ ิไดม้ แี ต่ความต้องการทางกาย ทีเ่ รียกกนั วา่ เป็นความจาํ เปน็ ของการ
ดํารงชีวิตเท่านั้น ซ่ึงเป็นความต้องการข้ันพื้นฐานท่ีชีวิตทุกรูปแบบมีร่วมกัน ไม่ว่าพืช สัตว์ หรือมนุษย์
และความต้องการนี้ต้องได้รับการตอบสนองชีวิตจึงจะดํารงอยู่ได้ แต่พ้นขั้นความต้องการทางกายนี้แล้ว
มนุษย์ยังมีความต้องการทางใจ ซ่ึงมีขอบเขตกว้างขวางกว่าอารมณ์ข้ันต�่ำอย่างที่สัตว์ก็แสดงว่ามีเช่นกัน
เช่น อารมณ์ที่แสดงความหวงแหนอาณาบริเวณ หรือต้องการคู่สู่สืบพันธุ์ อารมณ์ห่วงใยทารกของสัตว์
ผู้เป็นแม่ (หรอื พอ่ ดว้ ย) การคุกคามศตั รูผลู้ ่วงเกนิ หรือความหวาดเกรงอนั ตราย ฯลฯ อารมณต์ า่ งๆ นี้
มนษุ ยก์ ม็ ไี มต่ า่ งไปจากสตั ว์ แตค่ วามตอ้ งการทางใจหลายอยา่ งของมนษุ ยม์ เี กนิ กวา่ อารมณต์ ามธรรมชาติ
ของร่างกายชีวภาพเท่าน้ัน และข้ึนอยู่กับการกําหนดความหมายและคุณค่าของมนุษย์ด้วยกันเองให้แก่
สรรพส่งิ ท่บี างทไ่ี ม่มอี ยจู่ รงิ ในธรรมชาติท่เี ป็นวัตถวุ สิ ยั หรือสง่ิ ทถ่ี ึงแมจ้ ะมตี วั ตนเปน็ วัตถธุ รรมชาติกไ็ มม่ ี
ความหมายและคุณคา่ เองอยา่ งท่มี นษุ ยก์ ําหนดขน้ึ ให้
ตวั อยา่ งของสิ่งท่ไี มม่ อี ย่จู รงิ ในวตั ถุวิสยั ของธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ของทํานองน้ี เช่น เกยี รติยศ ความ
ทารณุ การเสยี สละ ความเกรงใจ ฯลฯ สง่ิ เหลา่ นไ้ี มใ่ ชค่ ณุ ลกั ษณะเฉพาะของสงิ่ ของหรอื การกระทาํ อยา่ งใด
อย่างหนึ่งโดยตรง ท่ีบ่งชี้ให้เห็นได้ผู้ท่ีมีเกียรติได้รับการยกย่องจากคนอื่นๆ ในสังคมหนึ่งอาจไม่ได้รับ
การยกยอ่ งจากสงั คมอนื่ ทก่ี าํ หนดเกณฑแ์ ละมาตรฐานไวต้ า่ งกนั สาํ หรบั สงิ่ ของหรอื การกระทาํ ทเี่ ปน็ เครอื่ ง
แสดง “เกียรติ” และที่จริง “เกียรติ” ก็มิใช่อยู่ในตัวส่ิงของหรือการกระทํา แต่ข้ึนอยู่กับการกําหนด
สมมตฐิ านของคนอืน่ รว่ มกนั ต่างหาก ถา้ ไม่กาํ หนดสมมตอิ ยา่ งนั้น “เกียรต”ิ ก็หมดไป ถงึ แมส้ ่งิ ของหรอื
การกระทํานัน้ จะยงั คงอยู่กต็ าม ถ้าสังคมกําหนดใหม้ ีคนประเภท “ทาส” และถือว่า ไร้ “เกยี รต”ิ ทันทีท่ี
สงั คมนนั้ ประกาศเลกิ ทาส คนคนเดยี วกนั ทหี่ มดความเปน็ “ทาส” กก็ ลบั มี “เกยี รต”ิ เทยี บเทา่ มนษุ ยอ์ นื่ ได้
(เวน้ แตถ่ ้าคนอน่ื ทั่วไปยงั ไม่ยอมใหม้ )ี
ตวั อยา่ งทส่ี ง่ิ หนง่ึ มตี วั ตนในวตั ถวุ สิ ยั ของธรรมชาติ แตเ่ พมิ่ ความหมายและคณุ คา่ เกนิ กวา่ คณุ สมบตั ิ
สามัญในธรรมชาติ กไ็ ด้แก่ ธาตุวตั ถุบางอย่าง เชน่ ทอง หรอื เพชร เปน็ ต้น คณุ สมบตั ทิ างกายภาพของ
ส่ิงน้ีท่ีนักฟิสิกส์หรือนักธรณีวิทยาเข้าใจตามลักษณะที่เป็นโลหะหรืออโลหะ มีความอ่อนตัว หรือความ
แขง็ แกร่ง เทยี บกบั แรธ่ าตอุ น่ื อยา่ งใดนนั้ เปน็ ลกั ษณะตามธรรมชาตขิ องสงิ่ นน้ั ๆ แตเ่ มอื่ มนษุ ยม์ าตรี าคาเปน็