Page 68 - ไทยศึกษา
P. 68
๑-58 ไทยศกึ ษา
คา่ เงนิ ตราใหแ้ กท่ องและเพชรมาก เพราะวา่ มนี อ้ ย หายากเมอื่ เทยี บกบั แรธ่ าตอุ นื่ หรอื สงวนไวใ้ หเ้ ปน็ ของใช้
ของพระราชา สามญั ชนไมม่ สี ทิ ธิ หรอื ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน แทนคา่ แลกเปลยี่ นทค่ี วรมเี กบ็ ไวเ้ ปน็ สมบตั ใิ ชส้ อย
ยามฉุกเฉนิ ฯลฯ ความหมายและคุณคา่ ทเ่ี พิม่ เกินคณุ สมบตั ติ ามธรรมชาติของแร่ธาตุวัตถุน้ันจนเป็นสงิ่ มี
ค่าพึงปรารถนาของผู้คนที่อยากได้ ถงึ กบั ยอมอดอยากของอย่างอน่ื หรอื ทจุ รติ เพื่อหาเงินมาซอื้ หรอื ลกั
ขโมยปล้นฆ่าให้ได้มาซึ่งวัตถุที่มีค่าตามสมมติน้ัน ย่อมหมดส้ินความหมายและไร้ค่าได้หากไม่มีมนุษย์มา
เกยี่ วขอ้ ง หรอื มนษุ ยเ์ ลกิ สนใจทจี่ ะใหค้ วามหมายและคณุ คา่ แกส่ งิ่ นนั้ ๆ เชน่ ทน่ี กั บวช ผทู้ รงศลี ทสี่ ละกเิ ลส
ความโลภในโลกวตั ถแุ ลว้ ยอ่ มแสดงให้เหน็ ว่าส่งิ เหล่านั้นไร้คา่ สาํ หรับตน
ความตอ้ งการและความพอใจของมนษุ ยท์ พี่ น้ ระดบั ความจาํ เปน็ พน้ื ฐานทางรา่ งกายตามธรรมชาติ
ชวี ภาพเชน่ นี้ ขน้ึ อยกู่ บั การกาํ หนดสมมตทิ เ่ี ปน็ ไปตามความคดิ ความเขา้ ใจของบคุ คลและสงั คมตอ่ สงิ่ ตา่ งๆ
ทปี่ ระกอบเปน็ โลกและชวี ติ ของตน ถงึ แมเ้ ปน็ ความจรงิ วา่ ชวี ติ ดาํ รงอยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ ม ไมว่ า่ ชวี ติ นน้ั จะเปน็
พชื สตั ว์ หรอื มนษุ ย์ แตเ่ จา้ ของชวี ติ กใ็ ชเ้ พยี งบางสว่ นของสง่ิ แวดลอ้ มนนั้ เทา่ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
จาํ เปน็ ตามธรรมชาตขิ องชวี ติ นน้ั เชน่ พชื นำ้� ไมต่ อ้ งการใชด้ นิ สตั วบ์ กใชน้ ำ้� ดมื่ และอาบเพยี งเลก็ นอ้ ยตาม
ที่สภาพร่างกายและชีวิตของมันจะต้องการ ไม่ใช้น�้ำมากเหมือนที่สัตว์น้�ำจําเป็นต้องใช้ ถ้าพิจารณาเพียง
ความตอ้ งการจาํ เปน็ ของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นแงช่ วี ภาพตามขนาดและวยั ของเจา้ ของชวี ติ แลว้ กค็ งใชว้ ตั ถดุ บิ
หรอื ทรพั ยากรธรรมชาตจิ ากสง่ิ แวดลอ้ มไมม่ ากมายเทา่ ไรนกั แตม่ นษุ ยไ์ มไ่ ดใ้ ชท้ รพั ยากรอยา่ งจาํ กดั เพยี ง
เพื่อสนองความต้องการจําเป็นของชีวิตร่างกายเท่าน้ัน อย่างที่พืชหรือสัตว์ใช้ ถึงแม้มนุษย์ไม่สามารถ
ปฏิเสธความต้องการจําเป็นข้ันพื้นฐาน เช่น ความต้องการอาหาร น�้ำ อุณหภมู ทิ ีเ่ หมาะสมกบั การทํางาน
ของอวัยวะของร่างกาย ท่ีพํานักยามพักผ่อนให้พ้นภัย ฯลฯ อย่างที่อินทรีย์มีชีวิตท้ังหลายจําเป็นต้องมี
แต่มนุษย์เพ่ิมความหมายและคุณค่าเกินกว่าความจําเป็นทางธรรมชาติแท้ๆ อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม และ
ทอี่ ยอู่ าศยั ของมนษุ ยจ์ งึ มใิ ชเ่ กนิ พอความตอ้ งการจาํ เปน็ ทางกายภาพไดห้ ลายเทา่ เชน่ คนมง่ั มกี นิ อยดู่ ว้ ย
วัสดุท่ีมากทั้งปริมาณ และคุณภาพเกินกว่าที่จําเป็นให้ชีวิตอยู่รอดเท่านั้น และความต้องการปรารถนาท่ี
เกินระดับความต้องการจําเป็นของชีวิตกายภาพนี้ อาจมีได้ไม่มีท่ีสิ้นสุดตามขนาดความโลภของมนุษย์
หรอื ตามเกณฑท์ มี่ นษุ ยร์ ว่ มกนั กาํ หนดไว้ เชน่ คนทมี่ ฐี านะศกั ดศ์ิ รสี งู จะตอ้ งกนิ อาหารบางอยา่ ง สวมเสอ้ื ผา้
ทาํ จากวสั ดหุ ายาก ราคาแพง อยบู่ า้ นใหญ่ เนอื้ ทบ่ี รเิ วณกวา้ ง วสั ดกุ อ่ สรา้ งคงทนถาวร และฝมี อื ชา่ งอยา่ ง
ประณีต ฯลฯ มิฉะน้นั จะไม่สมศกั ด์ิของฐานะ
ทรรศนะหรอื ความคดิ ความเขา้ ใจทกี่ าํ หนดความหมายและคณุ คา่ ใหแ้ กส่ ง่ิ ของ หรอื ผคู้ นทอ่ี ยรู่ อบตวั
วา่ จะใหม้ บี ทบาทความสาํ คญั ทสี่ มั พนั ธต์ อ่ การดาํ รงชวี ติ ของบคุ คลอยา่ งไรน้ี มศี พั ทบ์ ญั ญตั ใิ ชว้ า่ โลกทัศน์
และ ชีวทัศน์ บุคคลมีทรรศนะต่อโลกและชีวิตอย่างไร ก็กําหนดการกระทําของตนให้สอดคล้องตามทัศน์
นั้นๆ เพราะฉะนน้ั คนที่มที รรศนะวา่ ชีวิตควร “กนิ เพอื่ อย”ู่ ก็จะปฏบิ ัติตนผิดกบั คนที่มีทรรศนะว่า ชวี ิต
น้ีต้อง “อยู่เพื่อกิน” คนท่ีคิดแต่ว่า “ชีวิตควรอยู่เพื่อทําประโยชน์ให้สังคม” ก็จะกระทําตนต่างจากคนท่ี
คิดวา่ “ชีวติ ควรอยู่ เพ่ือหาประโยชน์สงู สดุ ใหต้ วั เอง”
คนทอี่ ยรู่ วมกนั เปน็ หมคู่ ณะ มกั จะมที รรศนะรว่ มกนั ของหมคู่ ณะเกยี่ วกบั โลกและชวี ติ กลา่ วกนั วา่
คนตะวันตกมีทรรศนะว่า มนุษย์เป็นนายของสรรพส่ิงในธรรมชาติ สามารถจับจ่ายใช้สอยทรัพยากรใน
ธรรมชาตไิ ดต้ ามอาํ เภอใจโดยไมต่ อ้ งยาํ เกรง แตค่ นตะวนั ออกมองสรรพสง่ิ ในธรรมชาติ วา่ เปน็ สง่ิ ทยี่ งิ่ ใหญ่