Page 69 - ไทยศึกษา
P. 69

แนวคดิ ในการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-59
กวา่ มนษุ ย์ มนษุ ยเ์ พยี งอาศยั ใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ และควรดาํ รงชวี ติ ใหส้ อดคลอ้ งกลมกลนื กบั ธรรมชาติ
โดยการยอมรบั พลงั อาํ นาจของธรรมชาตทิ มี่ อี ยเู่ หนอื มนษุ ย์ ทศั นคตทิ มี่ ตี า่ งกนั ตอ่ โลกของธรรมชาตเิ ชน่ น้ี
ตา่ งฝ่ายอาจมคี าํ อธบิ ายดว้ ยความเช่อื และคาํ สอนทางศาสนา เชน่ ศาสนาครสิ ตว์ ่าพระผู้เปน็ เจ้าทรงสรา้ ง
สรรพส่ิงในโลก และทรงสร้างมนุษย์ในรูปลักษณ์ของพระองค์ มนุษย์จึงมีสิทธิใช้สอยธรรมชาติได้เต็มท่ี
แต่พุทธศาสนาไม่ว่าธรรมชาติมีไว้รับใช้มนุษย์ แต่ธรรมชาติมีอยู่เอง มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ
ศาสนาชนิ โต (ของญ่ีปุ่น) นบั ถอื พลงั ทั้งหลายในธรรมชาติ ของดนิ หนิ น้ำ�   ฯลฯ ศาสนาดง้ั เดิมของชน
หลายชาตทิ ําใหม้ นุษยย์ ําเกรงพลงั อาํ นาจของธรรมชาติทีม่ นษุ ยต์ อ้ งขอร้องวิงวอน ไมล่ บหลู่ ฯลฯ แต่คน
สมัยใหม่ไม่ว่าจะอยู่ในซีกโลกตะวันออกหรือตะวันตกที่ยึดถือความรู้จากวิทยาศาสตร์ ย่อมมีทรรศนะต่อ
โลกธรรมชาตติ ่างไปจากทรรศนะทางศาสนา และจะมกี ารปฏบิ ัติจัดการกับธรรมชาตไิ ปอีกลกั ษณะหนึ่ง

       ทรรศนะตอ่ ชวี ติ ของคนแตล่ ะสงั คมกต็ า่ งกนั ได้ ศาสนายดู าย ศาสนาครสิ ตแ์ ละศาสนาอสิ ลามเชอ่ื วา่
มนษุ ยม์ เี พยี งชวี ติ นใี้ นโลกปจั จบุ นั กบั ชวี ติ หนา้ ทพ่ี ระผเู้ ปน็ เจา้ จะทรงตดั สนิ วา่ ใครจะไดไ้ ปเสวยสขุ ในสวรรค์
กับพระองค์ หรือไปรบั ทกุ ขอ์ ยู่ในนรกกบั พญามาร ศาสนาฮนิ ดวู า่ พระพรหมแบ่งภาคมาสรา้ งเปน็ มนษุ ย์
ซง่ึ เกดิ แลว้ เกดิ อกี ไดห้ ลายครง้ั ตามกรรม จนกวา่ สดุ ทา้ ยจะกลบั คนื ไปสพู่ ระพรหม ศาสนาพทุ ธวา่ คนมชี วี ติ
เวยี นว่ายตายเกิดอยู่ไมส่ ้ินสุดหากไม่บรรลุนิพพาน ฯลฯ ศาสนาอน่ื ๆ ต่างกม็ คี าํ อธบิ ายชีวิตต่างๆ ไป ทาํ
ใหท้ รรศนะของมนษุ ยต์ า่ งกลมุ่ ตอ่ ชวี ติ แตกตา่ งกนั ไป และมผี ลทาํ ใหค้ นปฏบิ ตั ติ อ่ ชวี ติ ของตนและของผอู้ น่ื
หรือชวี ิตในรปู แบบอืน่ ๆ ต่างกัน ไปตามทรรศนะที่ตนยดึ ถอื

       บางสังคมถือว่ามนุษย์มีความเสมอภาคกัน เพราะต่างก็เป็นสิ่งที่พระเป็นเจ้าสร้างข้ึนมาประเภท
เดียวกันแต่บางสังคมก็แบ่งชั้นวรรณะว่ามนุษย์ไม่ทัดเทียมกัน เพราะพระเป็นเจ้าหรือกรรมกําหนดไว้ให้
ไมเ่ ทา่ กนั มที รรศนะอยา่ งใดกจ็ ดั ระเบยี บกฎเกณฑข์ องสงั คมใหค้ นปฏบิ ตั ติ อ่ กนั อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความเชอื่ นนั้
และกําหนด แบบอย่างชีวิตหรือวัฒนธรรมให้ต่างกลุ่มต่างช้ันไม่เหมือนกัน หรือให้ท้ังสังคมทําเหมือนกัน
หมดกไ็ ด้ หากถือว่าทุกคน ต้องเสมอภาคกนั

       คนไทยและสงั คมไทยกม็ โี ลกทศั นแ์ ละชวี ทศั นข์ องตนเอง ซง่ึ อาจเหมอื นกบั บางสงั คม และไมเ่ หมอื น
กบั อกี หลายๆ สงั คม โลกทศั นแ์ บบพทุ ธของคนไทยสว่ นใหญ่ อาจคลา้ ยกบั โลกทศั นข์ องคนลาว เขมร มอญ
พมา่ และลงั กา เพราะไดค้ ตชิ วี ติ จากพทุ ธศาสนาฝา่ ยหนิ ยานดว้ ยกนั แตอ่ าจเพย้ี นจากคนธเิ บต จนี ญปี่ นุ่
และเวยี ดนาม ท่ถี ือพทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายานท้งั ๆ ทีเ่ ปน็ พุทธศาสนาดว้ ยกัน และคงตา่ งจากคนชาวมลายู
ผนู้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม กบั ตา่ งจากคนฟลิ ปิ ปนิ สผ์ นู้ บั ถอื ศาสนาครสิ ตน์ กิ ายคาธอลกิ หรอื ชนเผา่ ตา่ งๆ ของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่นับถือธรรมชาติและอํานาจศักด์ิสิทธ์ิอย่างอ่ืน แต่โลกทัศน์ของบุคคลและสังคม
ไมไ่ ดถ้ กู ศาสนากาํ หนดไปทงั้ หมด โดยเฉพาะในสมยั ปจั จบุ นั ทศ่ี กึ ษาวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหมก่ นั มากกวา่ เรอื่ ง
ศาสนา คา่ นิยมและอดุ มการณท์ างการเมอื งและเศรษฐกจิ ไม่วา่ จะเป็นแบบซ้ายหรือขวา เป็นสงั คมนยิ ม
จักรวรรดินิยม มนุษยนยิ ม คณะนิยม หรอื ปัจเจกนิยม ก็กําหนดโลกทัศนแ์ ละชวี ทศั น์ของบคุ คล ของกลมุ่
คน หรอื ของ ทง้ั สงั คมไดไ้ มแ่ พศ้ าสนาและวทิ ยาศาสตร์ สงั คมทยี่ ดึ ปรชั ญาวตั ถนุ ยิ มสาํ หรบั การดํารงชวี ติ ก็
ปฏบิ ัติตนตา่ งไปจากสังคมทถ่ี ือปรัชญาจิตนิยม
   64   65   66   67   68   69   70   71   72