Page 64 - ไทยศึกษา
P. 64
๑-54 ไทยศกึ ษา
ความรู้ความสามารถของมนุษย์ที่จะจัดการเอาประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการดํารงชีวิต
ปรากฏเปน็ อุปกรณว์ ิธีการตา่ งๆ ท่ีค้นุ เคยกนั คือ
๑. เคร่ืองมือและวิธีการหาอาหารเล้ียงชีวิต สร้างที่อยู่อาศัยและของใช้ในครัวเรือน เสื้อผ้า
เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค ภาชนะ พาหนะ ของเล่น สิ่งบันเทิง ฯลฯ สรุปคือ อุปกรณ์และวิธีการในการ
ทํางานและพกั ผอ่ น ดว้ ยการดดั แปลงทรพั ยากรในธรรมชาตมิ าเปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารดาํ รงชวี ติ ทาํ การผลติ
เพ่ือการบริโภคอปุ โภค ศพั ทว์ ิชาการเก่ยี วกบั เรื่องน้ีคาํ หนึง่ คือ ประยกุ ตวิทยา (หรอื เทคโนโลยี) หมายถงึ
การสร้างทําเคร่ืองมืออุปกรณ์ที่เพิ่มความสามารถของอวัยวะธรรมชาติของมนุษย์ อีกคําหน่ึง คือ ระบบ
เศรษฐกจิ หมายถงึ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารทม่ี นษุ ยค์ ดิ สรา้ งขน้ึ เพอ่ื จดั สรรทรพั ยากรในการผลติ และการบรโิ ภค
เพ่อื สนองความต้องการจําเปน็ ของชวี ิต
๒. เคร่ืองมือและวิธีการควบคุมเพ่ือนมนุษย์ ให้มีการกระทําและความสัมพันธ์ที่เป็นประโยชน์
เสนอสนองกนั กําจัดความขัดแย้งทีจ่ ะขัดขวางประโยชนข์ องกนั และกนั ส่งเสรมิ การช่วยเหลอื รว่ มมือกัน
เป็นหมู่คณะ ป้องกัน และต่อสู้กับศัตรูที่เป็นอันตราย ฯลฯ อุปกรณ์เหล่าน้ีปรากฏเป็นบรรทัดฐาน
ธรรมเนยี ม จารตี กฎหมายขอ้ บงั คบั การกระทาํ ตามตาํ แหนง่ หนา้ ทขี่ องบคุ คลทจ่ี ะตอ้ งเกยี่ วขอ้ งกนั ตงั้ แต่
กลมุ่ ครอบครวั เพอ่ื นฝงู ผรู้ ว่ มอาชพี และกลมุ่ กจิ กรรมทกุ อยา่ งทค่ี นในสงั คมนน้ั ตอ้ งกระทาํ ตอ่ กนั เชน่
คา้ ขายแลกเปลยี่ นผลผลติ บรหิ ารปกครอง รนื่ เรงิ นนั ทนาการ ประกอบพธิ กี รรมทเี่ กยี่ วกบั ศรทั ธาความเชอ่ื
ฯลฯ สรุป คือ ระเบยี บกฎเกณฑ์ และระบบการบริหาร จัดการ กลุ่มคนท่ีอยูร่ ่วมกนั เพอื่ ทาํ กจิ กรรมตา่ งๆ
เพื่อสนองความตอ้ งการของชวี ิต
๓. เครอ่ื งมอื และวธิ กี ารจดั การกบั สรรพสง่ิ ทง้ั หลาย ทคี่ วามคดิ และจนิ ตนาการของมนษุ ยใ์ นกลมุ่
นน้ั กาํ หนดใหม้ อี ยู่ ถงึ แมจ้ ะยนื ยนั ใหเ้ หน็ เปน็ วตั ถตุ วั ตนไมไ่ ด้ ความเชอ่ื วา่ มเี ทพเจา้ หรอื ภตู ผปี ศี าจ ชาตนิ ้ี
ชาติหน้า สวรรคน์ รก ความเสมอภาค ความยุตธิ รรม ความงาม ความดี เกยี รตยิ ศ ศกั ดิ์ศรี ฯลฯ ทำ� ให้
ต้องมเี คร่ืองมือและวธิ กี ารท่ีจะใชก้ ับสง่ิ เหลา่ นใี้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ กช่ วี ติ และการอยูร่ ว่ มกนั ได้ เช่น มวี ธิ ีการ
ปลกู ฝงั ใหม้ คี วามเชอื่ รว่ มกนั มพี ธิ กี รรมทแ่ี สดงออกของความเชอ่ื รว่ มกนั มวี ธิ กี ารคดั เลอื ก ฝกึ ฝนบคุ ลากร
ทจ่ี ะถา่ ยทอดความเชอื่ และประกอบพธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั สงิ่ ตา่ งๆ ทเี่ ชอื่ วา่ มอี ยนู่ นั้ สรปุ คอื เครอื่ งมอื อปุ กรณ์
และระเบยี บวิธีการท่ปี รากฏใช้ในเร่ือง ศาสนา ปรชั ญา ศิลปะ คา่ นิยม และอดุ มการณ์ท่ีคนในกลุม่ หรือ
สังคมนัน้ เชอื่ และยดึ ถอื ร่วมกนั
ความรคู้ วามสามารถทปี่ รากฏในอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทสี่ งั คมจดั การเอาประโยชนจ์ ากสภาพแวดลอ้ ม
ของสังคมในสว่ นตา่ งๆ กนั ดังกลา่ วนี้ รวมเปน็ “วัฒนธรรม” คือ อปุ กรณ์การดาํ รงชีวิตของสงั คม คนสอง
กล่มุ ท่ีอยใู่ นสภาพแวดล้อมอยา่ งเดยี วกัน แต่ถา้ มคี วามรู้ความสามารถ สรา้ งอปุ กรณว์ ิธีการเอาประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติได้ต่างกัน ก็จะมีลักษณะชีวิตความเป็นอยู่ไม่เหมือนกัน นั่นคือ มีลักษณะสังคม
และวฒั นธรรมที่ตา่ งกัน
สงั คมไทยสมยั กอ่ นท่จี ะไดร้ ับเอาความร้ขู องสังคมยโุ รปตะวนั ตกเข้ามาอย่างจรงิ จังในสมยั รชั กาล
ที่ ๕ ของ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ มคี วามรคู้ วามสามารถแบบดงั้ เดมิ ของตนเองทจ่ี ดั การกบั สภาพแวดลอ้ มดาํ รง
ชีวิตได้ เป็นบ้านเมืองม่ันคงมาช้านาน คนไทยมีความรู้ความสามารถเพาะปลูกอาหารในที่ราบลุ่ม เป็น
สงั คมเกษตรกรรมมาตงั้ แตท่ ม่ี ขี อ้ ความบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ ประวตั ศิ าสตรข์ องคนชาตไิ ทย กอ่ นหนา้ นนั้ คนไทยจะ