Page 60 - ไทยศึกษา
P. 60

๑-50 ไทยศกึ ษา
       ในระดับสุดท้ายท่ีควรสังเกตคือ สถานท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ของประเทศชาติหรือสังคม มิได้จํากัด

ขอบเขต ใหส้ มั พนั ธก์ บั ประเทศหรอื สงั คมเพอ่ื นบา้ นทอ่ี ยตู่ ดิ พรมแดนกนั เทา่ นน้ั แตย่ งั มสี ว่ นกาํ หนดลกั ษณะ
ความสมั พนั ธก์ บั บา้ นเมอื งอน่ื ทอ่ี ยหู่ า่ งไกลออกไปอกี กไ็ ด้ เชน่ การทไี่ ทยมเี ขตประเทศลาวและกมั พชู าแยก
ทางตะวนั ออกใหไ้ มต่ ดิ กบั เขตประเทศเวยี ดนาม หรอื มเี ขตประเทศพมา่ กบั ลาวกน้ั แยกเขตประเทศไทยทาง
เหนือจากประเทศจีนนั้น ทําให้การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศที่ห่างออกไปน้ันได้ใช้ประโยชน์
จากดนิ แดนของประเทศทข่ี วางกนั้ เปน็ ฉนวน ชว่ ยกาํ หนดลกั ษณะกจิ กรรมทม่ี ตี อ่ กนั ได้ ทงั้ ในยามสงบและ
ยามสงคราม

       ในสมัยปัจจุบันท่ีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไม่ได้จํากัดอยู่เพียงในกลุ่มประเทศที่มีพรมแดน
ใกลเ้ คยี งในภมู ภิ าคเดยี วกนั ของโลกเทา่ นนั้ แตอ่ าศยั วธิ กี ารคมนาคมทไี่ ปไดก้ วา้ งขวางทวั่ ถงึ กนั โดยเฉพาะ
ทางน้�ำและทางอากาศ ประกอบกับความต้องการจําเป็นทางเศรษฐกิจและพาณิชย์ท่ีทําให้ประเทศหรือ
สงั คมตา่ งๆ มกี ารตดิ ตอ่ กจิ ธรุ ะนานาชนดิ กนั ไดไ้ มจ่ าํ กดั ขา้ มทวปี และมมุ โลก ทตี่ ง้ั ทางภมู ศิ าสตรข์ องแตล่ ะ
ประเทศท่เี ปดิ โอกาสใหม้ ี การติดตอ่ ได้กวา้ งขวางกนั มากประเทศ เชน่ อยู่รมิ ทะเล หรอื ทางนำ้�  มเี มืองท่า
ให้คา้ ขายสะดวก หรอื อยใู่ นตาํ แหนง่ ทีเ่ ปน็ ศูนย์กลางเครอื ขา่ ยการเดินทางทางอากาศของยคุ ปัจจุบัน เชน่
ในสมัยก่อนเรือใหญ่จากทะเลข้ึนไปถึงกรุงศรีอยุธยาและกรุงเทพฯ ได้ไม่ลําบาก สมัยปัจจุบันกรุงเทพฯ
เป็นเมืองศูนย์กลางการบินพาณิชย์ระหว่างประเทศ ฯลฯ ก็มีผลทําให้อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม
ต่างดา้ วเข้ามาผสมผสานกับลักษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยไดม้ าก หากเทียบกบั ประเทศหรือสังคม
ทอี่ ยลู่ กึ เขา้ ไปในทวปี ไมม่ คี วามสะดวกในการตดิ ตอ่ คมนาคมกบั นานาประเทศ เชน่ ประเทศลาว ประเทศ
เนปาล เปน็ ตน้

       นอกจากความเหมาะสมสาํ หรบั กจิ กรรมยามสงบแลว้ ตาํ แหนง่ ทต่ี ง้ั ทางภมู ศิ าสตรย์ งั มคี วามสาํ คญั
ทางยทุ ธศาสตรใ์ นยามสงครามระหวา่ งประเทศอยา่ งกวา้ งขวางไดด้ ว้ ย เชน่ ในสมยั ปจั จบุ นั ทปี่ ระเทศตา่ งๆ
ในทวีปเอเชียอาจกลายเป็นฐานทัพของประเทศมหาอํานาจในทวีปยุโรปหรืออเมริกาก็ได้ เพราะอยู่ในจุด
ยุทธศาสตร์ท่ีเหมาะสม ดังเช่น อเมริกาได้ขออาศัยฐานทัพอากาศ และทัพเรือในประเทศฟิลิปปินส์ และ
รัสเซียได้ใชฐ้ านทพั ทํานองเดยี วกนั ในเวยี ดนามใน พ.ศ. ๒๕๓๒ หรอื ทป่ี ระเทศไทยเคยถกู ใชเ้ ป็นฐานทพั
สนับสนนุ สหรฐั อเมริกาสมยั สงครามเวียดนาม (พ.ศ. ๒๔๙–๒๕๑๘) ในชว่ ง ๑๐ ปี สุดทา้ ยที่สหรฐั อเมริกา
มีบทบาทสาํ คญั เป็นตน้

       ความสาํ คญั ทางภมู ศิ าสตรท์ ง้ั ในดา้ นทรพั ยากรและตาํ แหนง่ ทตี่ ง้ั ของสงั คมทกี่ ลา่ วมาน้ี พอเหน็ ได้
งา่ ยดว้ ย ตวั อยา่ งของสงั คมปจั จบุ นั ซงึ่ คนุ้ เคยกนั อยู่ แตใ่ นเรอ่ื งของอดตี ทขี่ อ้ มลู ดา้ นนไ้ี มม่ ปี รากฏชดั เสมอไป
ก็ทําให้ไม่สามารถนํามาใช้ประกอบการอธิบายสภาพของสังคม และวัฒนธรรมไทยในอดีตได้ชัดเจนนัก
อย่างไรกต็ าม เมอ่ื ใดทม่ี ขี อ้ มูลพอใหร้ ู้แน่หรอื สนั นิษฐานได้ นกั วชิ าการกพ็ ยายามนํามาใชป้ ระโยชนอ์ ย่าง
เตม็ ทเ่ี ทา่ ทจี่ ะทาํ ได้ แตต่ อ้ งไมล่ มื วา่ สภาพแวดลอ้ มของสงั คมมไิ ดห้ มายถงึ สง่ิ ธรรมชาตใิ นภมู ปิ ระเทศหรอื
อาณาบรเิ วณอนั เปน็ ทตี่ ง้ั ของสงั คมเทา่ นน้ั เพราะวสิ ยั ของมนษุ ยเ์ มอ่ื อยใู่ นทใี่ ดกใ็ ชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
ในทอ้ งถน่ิ อาํ นวยประโยชนแ์ กช่ วี ติ เสมอ เชน่ ถางปา่ ลงทาํ ไรน่ า สรา้ งบา้ นแปงเมอื ง ขดุ คลองตดั ถนน ฯลฯ
ทําให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติต้องเปล่ียนรูปไปตามความสามารถและความต้องการของเจ้าของถิ่นท่ี
น้ันเสมอ วิธีการที่คนในสังคมแต่งแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาตินั้นก็เป็นส่วนหนึ่งท่ีกําหนดลักษณะ
ของสงั คมและวฒั นธรรมนนั้ เชน่ สงั คม ทรี่ จู้ กั แตก่ ารลา่ สตั วแ์ ละเกบ็ อาหารปา่ ไมร่ จู้ กั เพาะปลกู เลยี้ งสตั ว์
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65