Page 58 - ไทยศึกษา
P. 58

๑-48 ไทยศกึ ษา

เรื่องท่ี ๑.๓.๒
สภาพแวดล้อมของสังคม

       สภาพแวดลอ้ มของสงั คมไทยปจั จบุ นั ในสว่ นหนง่ึ หมายถงึ สภาพภมู ศิ าสตร์ ในบรเิ วณทอี่ ยอู่ าศยั
ของคนทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสงั คมไทย ไดแ้ ก่ สถานทภี่ มู ลิ าํ เนาและทรพั ยากรธรรมชาตทิ ค่ี นของสงั คมไทยได้
อยอู่ าศยั และทาํ มาหากนิ เลยี้ งชวี ติ โดยสว่ นรวมเมอ่ื พดู วา่ แผน่ ดนิ ไทยอดุ มสมบรู ณ์ ในนำ้� มปี ลา ในนามขี า้ ว
ภมู อิ ากาศไมร่ อ้ น ไมห่ นาวจนเกนิ ไป ไมม่ อี นั ตรายทางธรรมชาติ เชน่ พายใุ หญ่ นำ้� ทว่ ม แผน่ ดนิ ไหว ฯลฯ
ก็หมายความว่าคนกลุ่มน้ีท่ีเป็นสังคมไทยมีทรัพยากรใช้สอยเลี้ยงชีวิตไม่ขัดสน ผู้คนมีพอกินพอใช้
ไม่อดอยากเพราะสภาพแวดลอ้ ม ธรรมชาติเอื้ออาํ นวย

       แตใ่ นสว่ นทลี่ ะเอยี ดลงไป จะพบวา่ ในอาณาบรเิ วณ ของประเทศไทยปจั จบุ นั ภมู ศิ าสตรข์ องแตล่ ะ
ภาคกต็ า่ งกนั

       ภาคเหนือมภี เู ขาสงู และปา่ มาก พน้ื ท่รี าบมีน้อย อยู่ในล่มุ น้ำ� และระหวา่ งเขา เช่นทีร่ าบลมุ่ น�้ำปิง
วงั ยมและน่าน

       ภาคอสี านเปน็ ทร่ี าบสงู อาศยั นำ้� จากแมน่ ำ�้ ไดไ้ มม่ าก และทดี่ นิ ไมเ่ กบ็ นำ้�  การเพาะปลกู ตอ้ งอาศยั
แตน่ ำ�้ ฝนไมไ่ ด้พ่งึ นำ�้ ท่า ไม่ว่าจะจากแมน่ �้ำโขง แมน่ �ำ้ ชีหรอื แมน่ ำ�้ มลู

       ภาคกลางเปน็ ทร่ี าบลมุ่ กวา้ งใหญ่ มนี ำ้� หลากลน้ ฝง่ั ทกุ ปี เหมาะแกก่ ารทาํ นาลมุ่ การเดนิ ทางสะดวก
ทั้งทางน�้ำ ทางบก ไม่มีเขาไม่มปี า่ ขวางกัน้

       สว่ นภาคใตเ้ ปน็ คาบสมทุ ร มที ิวเขาแลน่ กลางตลอดเหนือใต้ ทีร่ าบสว่ นใหญ่อย่รู ะหว่างเชงิ เขากบั
ทะเลทงั้ สองฟากสมทุ รฝง่ั ตะวนั ออกและตะวนั ตก คนทอี่ ยอู่ าศยั รมิ ทะเลสามารถทาํ อาชพี ประมง คนทอี่ ยู่
ในแผน่ ดิน สามารถหาประโยชน์จากของป่า ฯลฯ

       สภาพภูมิประเทศที่ต่างกันเช่นน้ีมีผลต่อการตั้งชุมชนและการอาชีพ ทรัพยากรท่ีมีจํากัดหรือ
อดุ มสมบรู ณไ์ มเ่ ทา่ กนั หมายถงึ การสามารถเลยี้ งชวี ติ คนจาํ นวนมากนอ้ ยตา่ งกนั และลกั ษณะวธิ กี ารคมนาคม
ท่ียากง่ายไม่เหมือนกัน หมายถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท่ีใกล้ชิดสะดวกได้ไม่เท่ากัน เพ่ือการ
คา้ ขายแลกเปลีย่ น และการบริหารปกครอง ภมู ปิ ระเทศท่ตี า่ งกนั ส่งเสริมให้เกิดประเพณีท้องถนิ่ ท่ีตา่ งกนั
ดว้ ย เชน่ ประเพณีทาํ เหมืองฝายในภาคเหนือซ่ึงไม่มีในภาคอนื่ ๆ

       ถงึ แมจ้ ะอยใู่ นบรเิ วณทเ่ี ปน็ ภเู ขา เชน่ ทางภาคเหนอื ของประเทศ คนไทยกไ็ มอ่ ยทู่ ส่ี งู อยา่ งชาวเขา
เผา่ ตา่ งๆ เวน้ แตว่ า่ จะมคี วามจาํ เปน็ เชน่ หมดทที่ าํ กนิ บนพนื้ ราบจรงิ ๆ ในสมยั น้ี หรอื มโี อกาสหรอื คา่ นยิ ม
ใหม่ท่ีจะข้ึนไปทําอาชีพปลูกพืชเมืองหนาว หรือทําท่ีพักผ่อนสมัยใหม่ (รีสอร์ต) บนภูเขา การท่ีคนไทย
นิยมอยูแ่ ต่ในที่ราบและทีล่ ุ่ม ไม่แต่เพียงจะหมายถงึ การมีทเี่ พาะปลกู อุดมสมบูรณ์ ได้ผลผลติ เหลือบริโภค
เองเทา่ น้ัน แตย่ งั หมายถงึ การอยู่ประจําท่ีทํากิน ไมร่ อ่ นเร่พเนจร รวมชุมชนเป็นบ้านเปน็ เมอื งทผ่ี ้บู รหิ าร
ปกครองมาใหค้ วามคมุ้ ครองแลกเปลยี่ น กบั ภาษอี ากรทเ่ี กบ็ จากชาวบา้ นราษฎรไดส้ ะดวกดว้ ย ยงิ่ ภมู ปิ ระเทศ
เอื้ออํานวยด้วยทรัพยากรและเดินทาง คมนาคมสะดวกสําหรับการควบคุมกําลังคน ขนาดของบ้านเมือง
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63