Page 57 - ไทยศึกษา
P. 57
แนวคดิ ในการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-47
ของผคู้ นอยา่ งสงั เขปพอใหร้ ไู้ ดว้ า่ ลกู ปฏบิ ตั ติ อ่ พอ่ แม่ นอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ พ่ี ฯลฯ อยา่ งไร ดงั เชน่ พอ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราชจารึกว่า “เมื่อชั่วพ่อกู กูบําเรอแก่พ่อกู กูบําเรอ แก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู”
“พ่อกตู าย ยงั พ่กี ู กพู รำ่� บําเรอแกพ่ กี่ ู ดงั บาํ เรอแกพ่ ่อกู พก่ี ตู ายจึงได้ เมอื งแก่กูท้งั กลม”
ผู้ปกครองปกครองประชาชนอย่างไร ชาวบ้านทําบุญทําทานกันอย่างไร ฯลฯ ในกฎหมายสมัย
อยธุ ยา (ภายหลงั นาํ มาประมวลเปน็ กฎหมายตราสามดวงของกรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ) มรี ายละเอยี ดของ
ระบบศกั ดนิ า ทกี่ าํ หนดฐานะของบคุ คลชนั้ เจา้ นาย ไพร่ ทาส มคี า่ ตวั เปน็ ศกั ดนิ าลดหลน่ั กนั โดยลาํ ดบั อยา่ ง
ชัดเจน มีพระไอยการต่างๆ ที่กําหนดลักษณะความสัมพันธ์ท่ีบุคคลต่างๆ ประเภท เช่น ผัว เมีย นาย
บ่าว เจา้ ทาส ทหาร พลเรือน เจา้ หนี้ ลูกหนี้ ฯลฯ จะพงึ ปฏิบตั ิ หรือไมพ่ งึ ปฏบิ ตั ิต่อกัน
ข้อมูลเหล่าน้ีที่แสดงจํานวนประเภท และความสัมพันธ์ของคนที่อยู่รวมกันเป็นสังคม ทําให้เห็น
ลักษณะ บางอยา่ งของสังคมนัน้ ได้ว่าจะเหมือนหรอื ตา่ งกบั สังคมอืน่ อยา่ งไร ข้อมลู เช่นนี้มลี ะเอียดชัดเจน
เทา่ ใด ก็ทําให้รู้ ลกั ษณะของสังคมน้นั สมบรู ณ์ข้นึ เทา่ นน้ั
กิจกรรม ๑.๓.๑
ถ้ามีผู้บอกท่านว่า จํานวนของคนในสังคมไทยสมัยนี้ไม่ต่างจากจํานวนในสมัยสุโขทัยหรือสมัย
อยธุ ยาเลย ท่านจะเชอื่ หรือไม่
ถา้ ไม่เชือ่ ท่านคิดว่า เพม่ิ ข้ึนหรอื ลดลง
ถ้ามีผู้บอกว่า ถึงจํานวนคนจะเปลี่ยนไป แต่ประเภทและความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคมไทยก็
ไม่ได้เปลีย่ นไปจากสมยั โบราณเลย ท่านตอบวา่ อยา่ งไร ๑) จากประสบการณช์ วี ติ ของท่านเอง ๒) จาก
การอ่านและศกึ ษาประวัตศิ าสตร์
แนวตอบกิจกรรม ๑.๓.๑
ถงึ แมใ้ นสมยั โบราณไมม่ กี ารสาํ รวจสาํ มะโนประชากรทกุ ๆ ๑๐ ปอี ยา่ งปจั จบุ นั กค็ งตอบตรงกนั วา่
สมยั น้ี เมอื งไทยมีพลเมืองมากกวา่ แตก่ อ่ น
แต่ที่สําคญั กว่าคอื ทง้ั ประเภทและความสัมพันธ์ของบุคคลที่เปน็ พลเมอื งก็ไม่เหมอื นเดมิ เพราะ
อาชพี ใหมๆ่ และหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารใหมๆ่ ทกี่ าํ หนดความสมั พนั ธข์ องบคุ คลเหลา่ นนั้ เชน่ พอ่ เมอื ง ในสมยั
สโุ ขทยั กลายมาเป็น “กษตั รยิ ส์ มบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสมัยอยุธยา และเปน็ “พระมหากษัตรยิ ภ์ ายใน
ระบอบรฐั ธรรมนญู ” ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ เปน็ ตน้ มา ประเภทและความสมั พนั ธข์ องบคุ คลอนื่ ๆ กเ็ ปลย่ี นแปลง
ไปเชน่ กนั