Page 70 - ไทยศึกษา
P. 70
๑-60 ไทยศกึ ษา
ถา้ สามารถพจิ ารณาโลกทศั นข์ องคนไทยสมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยา เทยี บกบั ของสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ตอนตน้ ข้อมูลเทา่ ทม่ี ีอาจแสดงว่าคลา้ ยคลึงกนั ไดม้ าก แตโ่ ลกทศั น์ของคนไทยตง้ั แต่สมัยรัชกาลท่ี ๕ ที่
เรม่ิ มกี ารรบั ความรแู้ ละอปุ กรณว์ ธิ กี ารของสงั คมตะวนั ตกเขา้ มาอยา่ งกวา้ งขวางและมากขนึ้ เปน็ ลาํ ดบั จนถงึ
ปจั จบุ นั นี้ มกี ารเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ ไดม้ าก แตไ่ มเ่ สมอกนั ในทกุ กลมุ่ หรอื ทกุ สว่ นของสงั คมไทย โลกทศั น์
ของคนไทยในเมอื งหลวงและเมอื งใหญไ่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลของการตดิ ตอ่ กบั สงั คมและวฒั นธรรมภายนอกไดม้ าก
มโี อกาสแตกตา่ งจากโลกทศั นข์ องคนไทยในชนบททหี่ า่ งไกลคมนาคมไดไ้ มน่ อ้ ย ซงึ่ หมายถงึ ความแตกตา่ ง
ในลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทย ในตา่ งยคุ สมยั และตา่ งสว่ น หรอื ตา่ งภมู ภิ าคและทอ้ งถนิ่ ตามไปดว้ ย
ถ้าโลกทัศน์ของผู้บริหารปกครองประเทศมีว่า สังคมไทยมีทรัพยากรท้ังวัตถุและมนุษย์ท่ีควรนํา
มาใช้ในการผลิตและการบริโภคให้เต็มท่ี เพราะการกินดีอยู่ดีที่มีให้ใช้ไม่อ้ันเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต
และการผลติ ทไ่ี ดผ้ ลมากทสี่ ดุ คอื การผลติ แบบอตุ สาหกรรมและการผลติ แบบอตุ สาหกรรมทดี่ ที ส่ี ดุ ตอ้ งใช้
ระบบเศรษฐกิจเสรีทนุ นิยม และในระบบเศรษฐกจิ เสรที ุนนิยมนัน้ ต้องมีการแข่งขนั ประกอบการอย่างเสรี
และควรใหค้ นทม่ี ไี หวพรบิ ความสามารถทส่ี ดุ ไดร้ บั ผลประโยชนต์ อบแทนมากทส่ี ดุ ฯลฯ การวางแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ กจ็ ะสง่ เสรมิ บคุ คลและกลมุ่ ผปู้ ระกอบการ และอปุ กรณว์ ธิ กี ารในการผลติ และบรโิ ภคเปน็ ลกั ษณะ
หน่ึง แต่ถ้าผู้บริหารมที รรศนะต่อการผลิตการบริโภคและการใช้ทรพั ยากรของสงั คมตรงกนั ข้าม ลกั ษณะ
ของกิจกรรมเศรษฐกิจและกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเก่ียวเน่ืองก็จะเป็นอีกอย่างหนึ่ง ถ้าผู้บริหารประเทศคิดอย่าง
หนง่ึ แตน่ กั วชิ าการหรอื กลมุ่ อาํ นาจและผลประโยชนอ์ น่ื เชน่ กลมุ่ ทหาร กลมุ่ นกั ธรุ กจิ กลมุ่ นกั ศกึ ษา ฯลฯ
คิดตรงข้ามกัน มีการขัดแย้งกันท้ังในความคิดและการกระทําสภาพของสังคมวัฒนธรรมในช่วงเวลาน้ันๆ
ก็จะตา่ งไปจากยคุ สมัยท่ีทุกฝ่ายมีโลกทศั น์ชีวทศั นเ์ ปน็ อยา่ งเดียวกนั หมด
โลกทศั นห์ ลายอยา่ งทผ่ี บู้ รหิ ารมใี นเรอ่ื งแบบอยา่ ง การปกครองทเี่ หมาะสมกบั สงั คมไทยในยคุ ของ
กรุงรัตนโกสินทร์น้ีเอง ก็เปล่ียนแปลงไปหลายข้ันตอน แบบอย่างอุปกรณ์และวิธีการบริหารปกครอง
กเ็ ปลย่ี นไปตามคติ แนวคดิ และทรรศนะเหล่าน้ัน แนวคิดเรอื่ งจุดมงุ่ หมายของการผลติ การบรโิ ภคสาํ หรบั
ชวี ติ ก็ไมไ่ ด้คงรูปตายตวั เชน่ กนั และกไ็ มไ่ ด้เป็นทรรศนะท่ตี กลงตรงกันในทกุ กลุ่มทกุ ส่วนของสงั คมดว้ ย
กิจกรรม ๑.๓.๔
ถา้ มผี กู้ ลา่ ววา่ “ระเบดิ นวิ เคลยี รน์ น้ั คนไทยกม็ คี วามรพู้ อจะทาํ ได้ แตค่ นไทยไมต่ อ้ งการทาํ เพราะ
เม่อื ใช้ทําลายชีวิตจะเป็นบาป” ทา่ นจะเห็นด้วยหรอื ไม่
แนวตอบกิจกรรม ๑.๓.๔
ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละประยกุ ตวทิ ยาเกย่ี วกบั การทาํ ระเบดิ นวิ เคลยี รน์ น้ั เปน็ ความรสู้ ากลที่
นักวทิ ยาศาสตรห์ ลายชาติเรยี นจากกันได้ คนไทยก็สามารถรู้หลกั และวธิ กี ารทําระเบดิ นไี้ ด้
คนไทยบางคนทม่ี โี ลกทศั นแ์ บบชาวพทุ ธ ทล่ี ะเวน้ จากการทาํ ลายชวี ติ ไมว่ า่ ของคนหรอื สตั ว์ ยอ่ ม
ไมส่ ง่ เสรมิ ใหส้ รา้ งอาวธุ มาทาํ ลายชวี ติ กนั เชน่ ระเบดิ นวิ เคลยี รแ์ นน่ อน แตค่ นไทยทไี่ มย่ ดึ ถอื โลกทศั นแ์ บบนี้
กค็ งไมข่ ัดขอ้ ง ถ้าจะสรา้ งระเบิดดงั กลา่ วดว้ ยเหตุผลอน่ื ได้