Page 49 - ไทยศึกษา
P. 49
แนวคดิ ในการศกึ ษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ๑-39
ประชาชนพลเมืองท่ีเท่าเทียมกนั ของประเทศชาตเิ ดียวกัน ท�ำให้สงั เกตวา่ คนในแตล่ ะภาค ทั้งท่นี ับตวั เอง
หรอื ทถี่ กู กำ� หนดเรยี กวา่ เปน็ “ไทย” ดว้ ยกนั นน้ั มลี กั ษณะแบบแผนชวี ติ ความเปน็ อยหู่ รอื วฒั นธรรมดง้ั เดมิ
ของทอ้ งถ่ินเองท่ีต่างไปจากวฒั นธรรมของคนภาคกลางและคนเมอื งหลวง แต่ทง้ั หลายนนั้ กเ็ ป็นส่วนหนงึ่
ของวฒั นธรรมของประเทศดว้ ยกนั และเมอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรไู้ มไ่ ดจ้ ำ� กดั อยใู่ นศนู ยก์ ลางในเมอื ง
หลวงอีกด้วยต่อไป ผ้รู ู้ผู้เรยี นในสถาบนั การศกึ ษาทกุ ระดบั ท่ีแพร่กระจายไปในภมู ภิ าค เม่ือสนใจรายงาน
สภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องผคู้ นในทอ้ งถน่ิ ใหแ้ พรห่ ลายรจู้ กั และเขา้ ใจกนั มากขน้ึ ๆ โดยลำ� ดบั ตลอดมา
ในยุคของการพัฒนาประเทศ ต้ังแต่หลังสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ น้ี การบรรยายลักษณะของ
วฒั นธรรมไทยก็มิได้จ�ำกัดอยู่แต่เพียงวัฒนธรรมของชนช้ันบริหารปกครองของเมืองหลวงและภาคกลาง
ของประเทศ เป็นเสมอื นตัวแทนทช่ี อบธรรมของวฒั นธรรมไทยทั้งชาตอิ ีกตอ่ ไป แต่การเสนอความหลาก
หลายของวฒั นธรรมไทยทกุ ภาคใหค้ รบถว้ นอยา่ งเสมอภาคเชน่ นก้ี ท็ ำ� ใหม้ ปี ญั หา ตอ้ งระวงั ในการระบแุ หลง่
บรเิ วณทม่ี วี ฒั นธรรมเฉพาะอยา่ งนน้ั ๆ ใหช้ ดั เจน ถา้ ตอ้ งการความแมน่ ยำ� ไวเ้ ปน็ ขอ้ มลู หลกั ฐานชว่ ยการศกึ ษา
วิจัยกันอกี ตอ่ ไปภายหน้า
๕. วัฒนธรรมประจ�ำชาติกับวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ย่อย
วฒั นธรรมไทยในสงั คมไทยระดบั ประเทศอยา่ งทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั มปี ญั หาใหต้ อ้ งพจิ ารณาตา่ งๆ
จากเรอื่ งวฒั นธรรมในสงั คมระดบั ตำ�่ กวา่ ประเทศ ยงิ่ ระดบั ของสงั คมลดลงมาเปน็ ระดบั ภมู ภิ าคทอ้ งถนิ่ หรอื
ระดบั อำ� เภอตำ� บลจนถงึ หมบู่ า้ นและชมุ ชน กย็ ง่ิ มคี วามจำ� เพาะทช่ี ดั เจนแนน่ อนมากขน้ึ เพราะมคี วามหลากหลาย
นอ้ ยลงมาเปน็ ลำ� ดบั และมคี วามเสมอเหมอื นเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั ไดเ้ ตม็ ทข่ี น้ึ ในธรรมเนยี มประเพณี อปุ กรณ์
วิธีการ ความเช่อื และคา่ นิยม ฯลฯ ที่เป็นแบบแผนวถิ ีชีวติ ของคนทัง้ กลมุ่ หรือสังคมในระดบั ทีจ่ �ำกดั ตาม
ขอบเขตน้ันๆ
สงั คมในระดบั ทสี่ งู กวา่ หมบู่ า้ นชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ ภมู ภิ าคขน้ึ ไป ถงึ แมจ้ ะเปน็ คนทม่ี เี ชอื้ ชาตภิ าษา
เดยี วกนั กอ็ าจมคี วามผดิ เพย้ี นหลากหลายในลกั ษณะบางอยา่ งของวฒั นธรรมได้ เชน่ ภาษาพดู มสี ำ� เนยี ง
สำ� นวนไมเ่ หมอื นกนั แบบอยา่ งเครอ่ื งแตง่ กาย รปู ทรงทอี่ ยอู่ าศยั อาหารการกนิ การทำ� มาหากนิ ประกอบ
อาชพี ฯลฯ ตา่ งกนั ไปตามทรัพยากร หรือสภาพความจำ� กัดในทอ้ งถนิ่ ตามเหตุการณป์ ระวตั ศิ าสตร์ ตาม
ความตอ้ งการพอใจ ฯลฯ ของแตล่ ะหมคู่ ณะ ในกรณที ส่ี งั คมใหญเ่ ปน็ ของคนชาตภิ าษาเดยี วกนั สงั คมยอ่ ย
ท่มี วี ฒั นธรรมท้องถ่นิ ผดิ เพี้ยนกนั บ้าง ก็ยังรว่ มวฒั นธรรมใหญเ่ ดียวกันอยู่
สงั คมไทยสมยั กอ่ นแยกการปกครองออกเปน็ สว่ นทเี่ ปน็ บา้ นเมอื งของคนไทยกนั เองสว่ นหนง่ึ และ
สว่ นทเ่ี ป็นของคนชาติภาษาอน่ื อกี ส่วนหนง่ึ เรยี กเปน็ หวั เมืองประเทศราช หรอื ชมุ ชนคนตา่ งดา้ วท่เี ข้ามา
พึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ไทย ผคู้ นตา่ งชาติภาษานแี้ ยกเป็นคนละสงั คมวฒั นธรรม แต่
อยู่ใต้ปกครองของไทย ไม่มีปัญหาเรื่องพลเมืองร่วม “สัญชาติ” แต่ต่าง “เชื้อชาติ” กันเหมือนอย่างใน
ประเทศชาติสมัยใหม่ เพราะคติการปกครองแบบโบราณที่เป็นอาณาจักรหรือจักรวรรดิน้ัน แยกสังคม
วฒั นธรรมของชนชาตปิ กครองออกจากสงั คมวฒั นธรรมของชนชาตใิ ตป้ กครองไดไ้ มร่ วมกนั (จกั รวรรดจิ นี
หรือโรมันโบราณ จักรวรรดิอังกฤษ ฝรั่งเศส เม่ือศตวรรษท่ีแล้วเป็นตัวอย่าง ไม่ต่างจากอาณาจักรไทย