Page 45 - ไทยศึกษา
P. 45

แนวคิดในการศกึ ษาสงั คมและวัฒนธรรมไทย ๑-35
       เรอื่ งราวอนื่ ๆ ของการดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นในอดตี ทไ่ี มม่ กี ารบรรยายไวเ้ ปน็ บนั ทกึ อยา่ งทน่ี กั ประวตั -ิ
ศาสตรไ์ ดอ้ าศยั และไมม่ รี อ่ งรอยหลกั ฐานทเี่ ปน็ ถาวรวตั ถอุ ยา่ งทน่ี กั โบราณคดไี ดศ้ กึ ษาวเิ คราะห์ มกั จะไดแ้ ก่
ส่วนท่ีเป็นวิถีชีวิตของสามัญชน ด้วยเหตุว่า เหตุการณ์ส�ำคัญในชีวิตของสามัญชนไม่มีผู้บันทึกเป็น
พงศาวดารเหมอื นเหตกุ ารณข์ องวงศส์ กลุ ผปู้ กครองบา้ นเมอื ง และทอ่ี ยอู่ าศยั ของชาวบา้ นมกั ไมไ่ ดส้ รา้ งทำ�
ดว้ ยวสั ดทุ คี่ งทนถาวรเหมอื นโบสถว์ หิ ารทางศาสนาหรอื ปราสาทราชวงั เครอ่ื งใชไ้ มส้ อยทจี่ ะเปน็ โลหะหรอื
แร่ธาตุท่ีรักษาสภาพและรูปทรงได้ยาวนานก็ไม่ค่อยมี อย่างดีก็อยู่เป็นร่องรอยได้แต่ภาชนะท่ีเป็น
เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชท้ ท่ี ำ� ดว้ ยวสั ดหุ างา่ ยในทอ้ งถนิ่ เชน่ ไมห้ รอื หวายกผ็ พุ งั ทำ� ลายหมด ไมเ่ หลอื
รอ่ งรอยให้นักโบราณคดีด้วย ถึงแม้จะระบุเวลาและสถานทใี่ หแ้ น่นอนไมไ่ ดเ้ สมอไป วา่ เปน็ แบบอยา่ งชีวติ
ของคนหมบู่ ้านชุมชนไหน ในระยะเวลาใดไดโ้ ดยตรง เร่อื งเหล่านี้มีผูก้ ำ� หนดเรียกว่า “คติชนวทิ ยา”  
       นอกจากนนั้ ความพยายามทจี่ ะสรา้ งภาพวฒั นธรรมของคนสมยั กอ่ น อาจรวมถงึ การเปรยี บเทยี บ
จากชีวิตบางส่วนของคนสมัยน้ีที่เชื่อว่าน่าจะคล้ายคลึงกันได้ เช่น เทียบว่าวิถีชีวิตของชุมชนหนึ่งท่ีอยู่
โดดเดย่ี วลำ� พงั หา่ งไกลจากถนนหนทางและวธิ กี ารคมนาคมสมยั ใหม่ ไมม่ ไี ฟฟา้ ไมม่ นี ำ้� ประปา ฯลฯ อยกู่ นั
อย่างน้ีตั้งแต่สมัยพ่อแม่ปู่ย่าตายาย ฯลฯ ก็คงจะเหมือนกับแบบอย่างชีวิตของคนสมัยก่อนด้วย จะย้อน
หลงั ไปใหแ้ นน่ อนไดเ้ ทา่ ไร กค็ งอาศยั คำ� บอกเลา่ ยนื ยนั ของผทู้ ย่ี งั มชี วี ติ อยชู่ ว่ ยก�ำหนด แตถ่ า้ ไมพ่ ถิ พี ถิ นั นกั
ก็อาจสรุปเอาว่า แบบอย่างวิถีชีวิตเช่นนั้นไม่เปล่ียนแปลงมาเลยตั้งแต่สมัยต้นอยุธยา ต้นสุโขทัย ฯลฯ
ทเี ดยี ว เทา่ กบั เปน็ ขอ้ มลู บรรยายลกั ษณะชวี ติ หรอื วฒั นธรรมของสามญั ชนทไ่ี มม่ บี นั ทกึ หลกั ฐานแทนกนั ได้
ยิ่งกว่าน้ันถ้าอยากรู้สภาพว่า สังคมและวัฒนธรรมเกษตรกรรมในสมัยก่อนที่จะรู้จักท�ำการเพาะปลูกและ
มีแต่การล่าสัตว์และเก็บอาหารป่าน้ัน มีลักษณะอย่างไร ก็เอาแบบอย่างชีวิตของชนเผ่าใดเผ่าหนึ่งของ
ปัจจุบัน มาเป็นตัวอย่างว่าคงเป็นท�ำนองเดียวกนั เช่นนน้ั ดว้ ย
       การเปรียบเทียบหรือเทียบเคียงสันนิษฐานย้อนกลับไปโดยไม่มีหลักฐานบันทึกที่แน่นอนยืนยัน
เชน่ นี้ อาจถกู หรอื ผดิ กไ็ ด้ เพราะไมม่ ที างทจี่ ะทราบขอ้ เทจ็ จรงิ แนน่ อนแตถ่ า้ ระบเุ ตอื นไวใ้ หช้ ดั เจนวา่ เปน็ การ
สนั นษิ ฐานเทยี บเคยี งกท็ ำ� ใหพ้ อสามารถบรรยายลกั ษณะวฒั นธรรมของอดตี ไดม้ ากสว่ นขนึ้ กวา่ ถา้ จะอาศยั
บนั ทกึ หลกั ฐานหรอื โบราณสถานวตั ถเุ ปน็ แหลง่ ขอ้ มลู เทา่ นนั้ ความถกู ตอ้ งหรอื แมน่ ยำ� จะมไี ดเ้ พยี งใดยอ่ ม
ขึ้นอยูก่ ับหลกั การวเิ คราะห์ สนั นิษฐาน และเหตผุ ลทีอ่ า้ งสนับสนนุ ความเป็นไปได้ของแต่ละเร่ืองน้นั ๆ

๒. 	ลักษณะวัฒนธรรมของคนไทยต่างระดับชนชั้นและต่างกลุ่มอาชีพ

       ในสมยั หนง่ึ ซง่ึ ถอื กนั วา่ “วฒั นธรรม” คอื แบบอยา่ งชวี ติ ทม่ี คี วามประณตี ลกึ ซง้ึ ของผทู้ รี่ บั การศกึ ษา
อบรม มรี สนยิ มและความรอบรู้ ฯลฯ ลกั ษณะทาง “วฒั นธรรม” ทนี่ ำ� มาบรรยายเกยี่ วกบั ชนชาตใิ ดชนชาติ
หนึ่งก็จะมแี ต่เรือ่ งราวของชนช้นั สูงทีเ่ ป็นผู้ลากมากดหี รอื ผูบ้ ริหารปกครองของสังคมนนั้ และจะไม่ปรากฏ
เรอ่ื งราวของชนชนั้ ชาวบ้านเลย ถงึ แมจ้ ะมหี ลักฐานที่พอหาได้ ตามแนวคิดและความเขา้ ใจเชน่ นี้ ถึงแมจ้ ะ
บรรยายลักษณะวัฒนธรรมปัจจุบันท่ีมีข้อมูลให้รวบรวมเรียบเรียงมาเสนอได้ ก็ย่อมจะละส่วนที่เป็นแบบ
อยา่ งชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวบา้ นออกเสยี นำ� เสนอแตเ่ รอื่ งราวทเี่ ปน็ แบบอยา่ งชวี ติ ของชนชน้ั สงู เทา่ นน้ั
และถ้ายิ่งเป็นเร่ืองราวในอดีตที่มักจะมีแต่ข้อมูลเกี่ยวกับชนช้ันบริหารปกครอง ไม่ว่าจะใดจารึกและ
พงศาวดารหรือโบราณสถานวัตถุและไม่มีเร่ืองราวของชาวบ้านสามัญชน ก็ยิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องเสนอได้แต่
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50