Page 41 - ไทยศึกษา
P. 41

แนวคดิ ในการศึกษาสังคมและวฒั นธรรมไทย ๑-31
อ�ำนาจการปกครองของตนออกไป ถึงจะยังเป็นคนพูดจาภาษาเดียวกัน มีธรรมเนียมประเพณีลักษณะ
เดยี วกนั กเ็ ปน็ คน “บา้ นอนื่ เมอื งอน่ื ” เพราะไมข่ นึ้ แกก่ นั ไมเ่ ปน็ พวกหมู่ (หรอื “สงั คม”) เดยี วกนั อยา่ งนี้
เท่ากับกำ� หนดเขตของ “สงั คม” ด้วยอำ� นาจบริหารปกครองกว้างข้ึนกว่าดว้ ยความเปน็ ญาตแิ ละมติ รแทๆ้
โดยตรง

       สงั คมไทย ตามทคี่ นไทยทว่ั ไปในปจั จบุ นั เขา้ ใจมากจำ� กดั เหตกุ ารณเ์ ชน่ น้ี ถงึ แมค้ นไทยภาคกลาง
เมอ่ื ไปตา่ งถน่ิ ตา่ งภาค มกั มปี ญั หาสอ่ื สารกบั ผพู้ ดู ภาษาถนิ่ ทางเหนอื อสี าน และใต้ เพราะฟงั เขาไมร่ เู้ รอื่ ง
และอาจกนิ อาหารทอ้ งถนิ่ ไมถ่ นดั แตก่ จ็ ะนบั วา่ คนไทยภาคอนื่ ๆ นน้ั กเ็ ปน็ ผรู้ ว่ มสงั คมไทยเดยี วกนั เพราะ
มีลักษณะพื้นฐานของภาษาและวัฒนธรรมเดียวกัน และมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันโดยปริยายในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยของประเทศชาติเดียวกัน มีรัฐบาลเดียวกัน มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขร่วมกัน ฯลฯ
แต่ทันทีท่ีข้ามพรมแดนเขตประเทศไป ย่อมถือว่าคนลาวในประเทศลาวไม่ร่วมอยู่ในสังคมไทยด้วย และ
คนเงยี้ ว (ไทยใหญ)่ ในประเทศเมยี นมากไ็ มอ่ ยใู่ นสงั คมไทย ทงั้ ๆ ทคี่ นเหลา่ นนั้ กม็ ลี กั ษณะของภาษาและ
วฒั นธรรมเดยี วกนั ใกลเ้ คยี งกบั คนไทยในภาคอสี านและในภาคเหนอื และถา้ ถอื ตามกำ� หนดของนกั วชิ าการ
ทางภาษาศาสตรแ์ ละชาตพิ ันธว์ุ ทิ ยา ก็เปน็ คนชาติ “ไทย” (หรือ “ไต”) เดยี วกนั ทงั้ สิ้น รวมถงึ คน “ไต”
ในเขตสบิ สองปนั นาของมณฑลยนู นานทางใตข้ องประเทศจนี ในเขตปกครองตนเองภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ของสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม และคนเชอ้ื สายไทยในมณฑลอัสสัมของอนิ เดยี ทเ่ี รยี กว่าคน “อาหม”
ด้วย

       เนอ่ื งจากตามความเขา้ ใจของคนทว่ั ไปทไี่ มใ่ ชน่ กั วชิ าการทางภาษาศาสตรห์ รอื ชาตพิ นั ธว์ุ ทิ ยา นยิ ม
ก�ำหนดขอบเขตของสังคมตามกลุ่มอ�ำนาจการปกครองคนไทย (ไต) ที่ถึงแม้เป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน
แต่ถ้าอยใู่ นเขตอำ� นาจการปกครองตา่ งกัน อยู่คนละรัฐประเทศ ก็ตอ้ งนับแยกเปน็ คนละ “สังคม” กนั แม้
อาจจะประกาศความสัมพันธ์ฉัน “พ่ีน้อง” กันบ้างในบางโอกาสก็ตาม (เช่น “ไทยบ้านพ่ีลาวเมืองน้อง”
หรอื “พน่ี อ้ งไทย” (ไต) ในเขตสบิ สองปนั นา” ฯลฯ) “สงั คมไทย” ในภาษาสนทนาจงึ กำ� หนดไวใ้ หห้ มายถงึ
กลุม่ ไทยในเขตประเทศไทยปัจจุบันเป็นสำ� คัญ

๓. 	ขอบเขตของสังคมไทยในแง่ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์

       ประเทศไทยปจั จบุ นั ในแงภ่ มู ศิ าสตร์ ครอบคลมุ บรเิ วณซงึ่ มปี ระชากรของกลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ นื่ นอกเหนอื
จากกลมุ่ ไทยรว่ มอาศยั อยดู่ ว้ ย และในรปู แบบของการปกครองประเทศทเี่ ปน็ เอกรฐั ปจั จบุ นั กลมุ่ อนื่ ๆเหลา่
น้ันยังพูดภาษาและมีธรรมเนียมประเพณีเป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง และมักอยู่กระจายกันในเขต
ชายแดนทุกภาคของประเทศ มีฐานะเป็นพลเมืองหรือสมาชิกของสังคมประเทศชาติด้วยสิทธิและหน้าท่ี
เสมอเหมือนกนั

       ในความหมายกวา้ ง “สงั คมไทย” ในระดบั ประเทศทน่ี บั รวมสมาชกิ ตามความเปน็ พลเมอื งจงึ ตอ้ ง
รวมพลเมอื งจากทกุ กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ แตใ่ นความหมายแคบ “สงั คมไทย” อาจใหน้ บั แตค่ นในกลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ ทย
ที่อยู่ในเขตประเทศไทยปัจจุบันเท่าน้ัน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการบรรยายลักษณะทาง ท้ังนี้เพ่ือความ
สะดวกในการบรรยายลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม “สังคม” และ “วัฒนธรรม”
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46