Page 38 - ไทยศึกษา
P. 38
๑-28 ไทยศึกษา
ดงั นน้ั สงั คมทบ่ี ุคคลหนงึ่ ถือวา่ เปน็ ของตน จงึ มจี ำ� นวนและประเภทของคนท่ีตนต้องมีการกระทํา
สมั พนั ธด์ ว้ ยจรงิ ภายในขอบเขตทค่ี อ่ นขา้ งจำ� กดั แตข่ อบเขตของ “สงั คม” นี้ ในระดบั ประเทศยอ่ มรวมคน
ทงั้ หลายทเี่ ปน็ พลเมอื งของประเทศ ทบ่ี คุ คลไมเ่ คยพบปะหรอื รจู้ กั โดยตรงดว้ ยเลย “สงั คม” ระดบั ประเทศ
ทมี่ ขี อบเขตกวา้ งขวางกวา่ ทบี่ คุ คลแตล่ ะคนในสงั คมนนั้ รสู้ กึ ไดจ้ รงิ (การอบรมปลกู ฝงั ความรกั ประเทศชาติ
ใหเ้ สียสละเพื่อประเทศชาติ จงึ เป็นการสร้างความส�ำนึกในสง่ิ ทพ่ี ้นประสบการณ์โดยตรงของชีวิต ส�ำหรับ
คนจ�ำนวนไมน่ อ้ ยที่ไมเ่ คยออกไปหา่ งไกลชุมชนของตนเอง)
นอกจากน้ี “สงั คม” ระดบั กลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ มี่ ลี กั ษณะทางวฒั นธรรมอยา่ งเดยี วกนั กม็ กั มขี อบเขตที่
กว้างขวางเกินประสบการณ์และความสำ� นกึ ท่แี ท้จริงของบุคคลได้ โดยเฉพาะถ้ามีรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยที่
ต่างไปภายในกลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่นั้น เช่น มีส�ำเนียงภาษาถิ่น เคร่ืองนุ่งห่ม ของกินของใช้ ธรรมเนียม
ประเพณี ฯลฯ ประจำ� ถนิ่ ประจำ� ภมู ภิ าคผดิ เพยี้ นกนั ไป ทำ� ใหค้ นเผา่ พนั ธเ์ุ ดยี วกนั แตต่ า่ งทอ้ งถนิ่ กม็ คี วาม
รสู้ ึกเปน็ คนละกลมุ่ คนละพวก คนละ “สังคม” ได้
การนับคนท่ีร่วมเช้ือชาติหรือเผ่าพันธุ์เดียวกันว่าเป็น “สังคม” เดียวกันเพราะมี “วัฒนธรรม”
ทเี่ ปน็ สว่ นรวมรว่ มกนั เชน่ ภาษาตระกลู เดยี วกนั (ในแงข่ องภาษาศาสตร)์ ธรรมเนยี มประเพณสี ว่ นทเ่ี ปน็
หลักใหญ่ๆ รว่ มกัน ถงึ แมร้ ายละเอยี ดจะตา่ งกนั (ในแงข่ องมานษุ ยวทิ ยา) มีลักษณะการจดั ระเบยี บและ
โครงสร้างสงั คมแบบเดียวกันในลักษณะท่วั ไป (ในแง่ของสังคมวทิ ยา) ฯลฯ จงึ เป็นการกำ� หนดขอบเขตท่ี
เป็น “สังคม” เดียวกันโดยบุคคลภายนอก (เช่น นักวิชาการ) แต่ตัวบุคคลในกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์
ใหญน่ ั้น อาจไมม่ ีความส�ำนึกว่ารว่ ม “สังคม” เดยี วกันเลย
ตวั อยา่ งของกลมุ่ คนทม่ี ลี กั ษณะทางวฒั นธรรมอยา่ งเดยี วกนั เชน่ คนจนี แผน่ ดนิ ใหญข่ องสาธารณ-
รัฐประชาชนจีน กับคนจีนบนเกาะไต้หวันท่ีประกาศตนเป็นสาธารณรัฐจีน มีระบอบการปกครองและ
อุดมการณ์ทางการเมืองท่ีต่างกัน (รวมถึงตัวอย่างของเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตกก่อน พ.ศ.
๒๕๓๔ และเกาหลเี หนอื กบั เกาหลใี ต้ เปน็ ตน้ ) แยกกนั เปน็ คนละประเทศ คนละรฐั เชน่ น้ี จะนบั เปน็ “สงั คม”
เดยี วกันไดอ้ ีกหรือไม่ คนทีเ่ ปน็ เชอ้ื ชาติและเผา่ พันธุ์เดียวกนั ในเชิงภาษาและวฒั นธรรมท่วั ไป แต่แยกกัน
ดว้ ยระบอบการปกครองเปน็ คนละประเทศ เชน่ มาเลเซยี และอนิ โดนเี ซยี (ซงึ่ รว่ มวฒั นธรรมมลายดู ว้ ยกนั )
หรือกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คือ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ (ซึ่งรวมวัฒนธรรมนอร์ดิกเดียวกัน)
ฯลฯ จะนับเป็น “สังคม” เดยี วกันไดห้ รือไมใ่ นทรรศนะของบุคคลท่อี ยใู่ นแตล่ ะประเทศ และโดยเฉพาะใน
ทรรศนะของรัฐบาลผู้บริหารของแต่ละประเทศไม่วา่ นกั วิชาการทางภาษาศาสตร์ หรือมานุษยวิทยา จะว่า
อยา่ งไรกต็ าม
การกำ� หนดขอบเขตของ “สงั คม” เพอ่ื ใหบ้ รรยายลกั ษณะจงึ มปี ญั หาทงั้ ในเชงิ วชิ าการ และในเชงิ
ประสบการณ์ ดว้ ยเหตผุ ลตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วมานี้ ขอบเขตของสงั คมและกำ� หนดไดอ้ ยา่ งไร กย็ อ่ มใหข้ นาดของ
“สงั คม” เป็นจ�ำนวนสมาชกิ หรือประชากรของสงั คมนัน้ ไดต้ ามมา “สงั คม” ทก่ี �ำหนดขอบเขตชุมชนย่อม
มีขนาดเล็กกว่า “สังคม” ท่ีก�ำหนดขอบเขตพรมแดนของประเทศ ซ่ึงก็ต่างไปจาก “สังคม” ท่ีก�ำหนด
ขอบเขตด้วยลักษณะท่ีเป็นเผ่าพันธุ์หรือเช้ือชาติเดียวกัน “สังคมประเทศ” อาจมีอาณาบริเวณท่ีชัดเจน
แนน่ อน แตร่ วมประชากรหลายกลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ วด้ ว้ ยกนั ในขณะที่ “สงั คมเผา่ พนั ธ”์ุ อาจมคี นรว่ มวฒั นธรรม
เดียวกันแต่ไม่รู้สึกเป็นชุมชนหรือสังคมเดียวกัน และอาจไม่อยู่รวมในอาณาบริเวณเดียวกันเป็นประเทศ