Page 34 - ไทยศึกษา
P. 34

๑-24 ไทยศกึ ษา

๓. 	สังคม/วัฒนธรรมส่วนกลางกับสังคม/วัฒนธรรมส่วนภูมิภาค

       ในสงั คมระดับ “ประเทศ” สมยั ใหม่ มสี ำ� นวนทแ่ี บง่ เปน็ สงั คม “สว่ นกลาง” กับ “ส่วนภูมภิ าค”
       ส่วนกลาง ปกติหมายถงึ สว่ นทเ่ี ปน็ ท่ีต้งั ของอำ� นาจบรหิ ารปกครองกลางของรฐั คือ ส่วนที่เป็น
เมืองหลวงเป็นเมืองที่ต้ังของรัฐบาลกลาง ของสภานิติบัญญัติ ของศาลสูงสุดของประเทศ ส่วนภูมิภาค
หมายถึงส่วนอ่ืนๆ ที่เหลือของประเทศซึ่งไม่ใช่เมืองหลวง แต่เป็นเพียงหัวเมืองที่ขึ้นกับอ�ำนาจบริหาร
ปกครองกลางของรฐั ท่ีเมอื งหลวง ส่วนภูมิภาคอันเปน็ ทต่ี ้ังของศนู ยก์ ลางปกครองระดบั มลรัฐ ซงึ่ มีอำ� นาจ
ออกกฎหมายและเกบ็ ภาษี ฯลฯ ในระดบั ทอ้ งถนิ่ ได้ ในขอบเขตทจ่ี ำ� กดั กวา่ รฐั บาลกลาง ซง่ึ เกบ็ ภาษสี ว่ นกลาง
ได้ทั้งประเทศ ควบคุมนโยบายและระบบการเงินการคลัง ด�ำเนินกิจการต่างประเทศ และการทหารของ
ประเทศ ฯลฯ สว่ นภมู ิภาคนย้ี งั ลดหลน่ั กนั ไดใ้ นระดบั ภูมิภาคกนั เองอกี เช่น ส่วนทเี่ ป็นตัวเมืองและตลาด
การค้าของภูมิภาคมีลักษณะแตกต่างกว่าส่วนที่อยู่นอกเมืองและไกลตลาดออกไป เป็นชนบทหมู่บ้าน
เท่ากับแบง่ เรียกเป็นสงั คมส่วน “เมอื ง” กับส่วน “ชนบท” ไดอ้ ีกแนวหนง่ึ )
       ในสังคมสมัยโบราณที่มีการรวมอ�ำนาจบริหารปกครองของรัฐขึ้นเป็นอาณาจักรได้ ส่วนกลางคือ
เมอื งหลวงอันเป็นที่อยู่ของพระมหากษัตริย์และขุนนาง ข้าราชการช้ันสูง ส่วนภูมิภาค ได้แก่ หัวเมือง
นอ้ ยใหญ่ ชน้ั เอก ชนั้ โท เมอื งลกู หลวง เมอื งประเทศราช ฯลฯ ซงึ่ ลว้ นขน้ึ ตอ่ อำ� นาจปกครองของสว่ นกลาง
สำ� นวนไทยวา่ “ภธู ร” และ “นครบาล” หมายถงึ “สว่ นภูมภิ าค” และ“สว่ นกลาง”
       ในสำ� นวนสมยั โบราณ สงั คมสว่ นกลางคอื เมอื งหลวงทต่ี งั้ ของราชสำ� นกั และสว่ นรวมของโภคทรพั ย์
ทเี่ กดิ จากสว่ ยสาอากรจากราษฎรในปกครองและทรพั ยเ์ ชลยผแู้ พส้ งคราม ยอ่ มทำ� ใหเ้ กดิ มวี ฒั นธรรมสว่ นกลาง
จากแบบอยา่ งการดำ� เนนิ ชวี ติ ของผบู้ รหิ ารและชนชน้ั ปกครองทมี่ อี ำ� นาจเหนอื สว่ นอน่ื ๆ ทงั้ หมดของประเทศ
สามารถรวบรวมท้งั “ของ” และ “คน” ที่มคี า่ มีฝีมือ ความสามารถเขา้ มารับใชร้ าชสำ� นัก ทำ� ใหล้ กั ษณะ
ของสังคมและวฒั นธรรมสว่ นกลางเปน็ ของดี มคี ่า มีราคากว่าลักษณะแบบอยา่ งชวี ิตของผถู้ กู ปกครองใน
ส่วนภูมิภาค ท่ีไม่ควรท�ำตัวแข่งอ�ำนาจวาสนาบารมีให้เหมือนส่วนกลาง และยิ่งรักษาลักษณะสามัญส่วน
ทอ้ งถิ่นไว้ ไมว่ า่ จะเป็นภาษา เครือ่ งนุง่ ห่ม ทีอ่ ยู่อาศัย ของกินของใช้ ธรรมเนียมประเพณี ฯลฯ ท่แี สดง
เอกลักษณ์ของชนผู้ถูกปกครองท่ีชัดเจนว่าไม่ท�ำตัวเทียมเจ้าเทียมนาย ผู้ปกครองก็ย่ิงดี เว้นแต่จะมีบาง
เรือ่ งบางอยา่ งท่ศี นู ยก์ ลางตอ้ งการให้ส่วนภูมิภาครับมาใช้ เช่น ราชประเพณหี รอื ศาสนพิธีบางรูปแบบ ท่ี
แสดงใหเ้ หน็ การยอมรบั อำ� นาจครอบงำ� ของอำ� นาจสว่ นกลาง จงึ จะใหส้ ว่ นภมู ภิ าคเลยี นแบบอยา่ งตามสว่ น
กลางได้
       ในสงั คมสมยั ใหมท่ ค่ี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ของวทิ ยาศาสตรแ์ ละประยกุ ตวทิ ยา ซงึ่ อาศยั อตุ สาหกรรม
และพาณิชยกรรม แพร่กระจายสินค้าอุปกรณ์การครองชีพที่คล้ายคลึงกัน ไปได้ทั่วทุกภาคของประเทศ
ตามการขยายสอ่ื สารการคมนาคม นกั ข่าวสารที่ไปท่กี วา้ งไกลและรวดเรว็ กบั การแพรข่ องคติการบริหาร
ปกครองแบบประชาธปิ ไตย ฯลฯ ทำ� ให้ “สว่ นกลาง” และ “ส่วนภมู ิภาค” ของบางสังคมในโลกปจั จุบนั
ไม่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนเหมือนแต่ก่อน การกระจายความเจริญด้านต่างๆ แบ่งกันไปให้เกิดใน
เมอื งต่างๆ ทกุ ภาคของประเทศ แทนทจ่ี ะจำ� กดั ไว้เป็นส่งิ ผูกขาดของเมืองหลวงท่ตี ้ังราชสำ� นกั และอำ� นาจ
อ่ืนๆ ทุกทางอย่างในรัฐรวมศนู ยท์ ีใ่ ชร้ ะบบการปกครองทอ่ี �ำนาจแบบเบด็ เสรจ็ อยา่ งสมัยก่อน ทำ� ใหส้ งั คม
และวัฒนธรรมส่วนภูมิภาคของปัจจุบัน มีความแตกต่างตามความช�ำนาญเฉพาะทางของการแบ่งงานกับ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39