Page 36 - ไทยศึกษา
P. 36
๑-26 ไทยศึกษา
๔. สังคม/วัฒนธรรมแบบประเพณีกับสังคม/วัฒนธรรมแบบสมัยใหม่
นอกจากขอบเขตของสงั คมและวฒั นธรรมจะถกู กำ� หนดตามประเภทหรอื ลกั ษณะเปน็ “สว่ นกลาง”
และ “ส่วนภมู ภิ าค” หรือ “สว่ นเมอื ง” และ “ส่วนชนบท” ซึ่งค่อนขา้ งจะเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานท่ตี ง้ั
ของสังคมนั้นๆ แล้ว ลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมอาจจ�ำแนกให้แตกต่างกันเป็นแบบ “ประเพณี”
กับแบบ “สมัยใหม”่ ไดด้ ้วย ซง่ึ อาศยั เกณฑ์ของการเวลามากกว่าสถานท่ี
สังคม/วัฒนธรรมแบบประเพณี เป็นส�ำนวนท่ีใช้เมื่อเทียบกับแบบสมัยใหม่ ซ่ึงเป็นส�ำนวนทุก
ปัจจุบันของการพัฒนาที่สืบต่อมา ตั้งแต่สมัยของการแพร่ระบาดของอารยธรรมแบบอุตสาหกรรมของ
ประเทศตะวันตก ท่ีขยายไปท่ัวโลกกับระบบอาณานิคมของศตวรรษท่ีแล้ว ค�ำว่า แบบสมัยใหม่ ท่ีใช้กัน
โดยทว่ั ไปหมายถงึ ลกั ษณะทเี่ รยี นตน้ แบบของสงั คม/วฒั นธรรมแบบอตุ สาหกรรมของตะวนั ตกเปน็ สำ� คญั
ดังน้ัน เม่ือก�ำหนดเรียกสังคม/วัฒนธรรมใดว่าเป็น แบบประเพณี จึงหมายถึง สังคมวัฒนธรรมท่ียังคง
ยึดถือแบบอยา่ งของตนเองทสี่ ืบทอดกนั มาจากบรรพบุรุษแตโ่ บราณ กอ่ นที่จะหันมารบั เอาแบบอยา่ งของ
สงั คมวฒั นธรรมอุตสาหกรรมของประเทศตะวันตกท่เี ป็นแบบ “สมยั ใหม่” การบรรยายลกั ษณะของสงั คม
วัฒนธรรมหนึ่ง ถ้าหมายถึงท่ีปรากฏในสมัยก่อนเปลี่ยนแปลงเป็นแบบ “สมัยใหม่” ก็จะได้แก่สังคม
วฒั นธรรมแบบ “ประเพณ”ี (ทงั้ นร้ี วมถงึ สงั คมและวฒั นธรรมของประเทศตะวนั ตกเหลา่ นน้ั เองดว้ ย กอ่ น
ทจี่ ะเกดิ มชี วี ติ ความเปน็ อยแู่ บบอตุ สาหกรรมทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ชวี ติ ความเปน็ อยแู่ บบ “สมยั ใหม”่ เชน่ ปจั จบุ นั *)
เนอื่ งจากในสว่ นตา่ งๆ ของโลกทอี่ ยนู่ อกทวปี ยโุ รป ไมไ่ ดม้ รี ะบบการผลติ และชวี ติ แบบอตุ สาหกรรม
ของตนเอง จนกระทัง่ มาคดิ เลียนแบบสังคมวัฒนธรรมอุตสาหกรรมของประเทศตะวันตกไมน่ านน้ี สงั คม
วัฒนธรรมของประเทศที่ก�ำลังพัฒนาไปตามแบบสมัยใหม่แต่ยังท�ำได้ไม่สมบูรณ์ จึงยังรักษาลักษณะเป็น
สงั คมวัฒนธรรมแบบประเพณอี ยูไ่ ด้มาก โดยเฉพาะในเขตท่ีอยู่นอกเมืองหลวงและเมอื งใหญๆ่ ออกไปใน
เขตชนบท แตเ่ มอื่ มกี ารพฒั นามากขน้ึ ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ การปกครอง การศกึ ษา อาชพี การงาน วธิ กี าร
พักผ่อน ฯลฯ รูปแบบประเพณีก็เหลือน้อยลงแม้แต่ในเขตชนบท แต่เพ่ือรักษาเอกลักษณ์ของประเทศ
ผู้บริหารปกครองและปัญญาชนอาจพยายามฟื้นฟูลักษณะของสังคมวัฒนธรรมแบบประเพณีขึ้นใหม่และ
รกั ษาไว้ เพ่ือแสดงมรดกของชาติและเป็นหลักฐานความเจริญของตนเองในอดตี ค่ขู นานกันไปกับลักษณะ
แบบสมัยใหม่ทีน่ ำ� เขา้ มาพัฒนาสงั คมวัฒนธรรมปจั จบุ นั ของประเทศ
ปัญหาในการบรรยายลักษณะของสังคมวัฒนธรรมท่ีมีท้ังส่วนที่เป็นแบบประเพณีและท่ีเป็นแบบ
สมยั ใหม่ เพอ่ื ใหไ้ ดภ้ าพทสี่ มบรู ณข์ องสงั คมวฒั นธรรมทงั้ หมดของคนชาตหิ นงึ่ หรอื ประเทศหนง่ึ ในปจั จบุ นั
จงึ เปน็ เรอ่ื งของการแยกสว่ นทง้ั สองนี้ และระบชุ ว่ งเวลาและยคุ สมยั ใหช้ ดั เจน เพราะความเปน็ “สมยั ใหม”่
นน้ั กต็ อ้ งมจี ดุ เรม่ิ ตน้ และระยะเวลาทค่ี ลคี่ ลาย เรว็ ชา้ และมากนอ้ ยไมเ่ ทา่ กนั ในแตล่ ะสงั คม และในสว่ นทตี่ า่ งกนั
ของสงั คมเดยี วกนั รปู แบบทเ่ี รยี กวา่ “ประเพณ”ี นน้ั กม็ ที เ่ี กดิ กอ่ น เกดิ หลงั และเปลยี่ นแปลงคลคี่ ลายมา
ซง่ึ อาจมีหลกั ฐานระบไุ ด้เปน็ แตล่ ะยุคสมยั ของอดีต ไม่เหมือนกันตลอดเวลามีรปู ลกั ษณะเดียวกนั เสมอไป
(ดงั ที่ผู้ศกึ ษาประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศชาติและสงั คมวัฒนธรรมยอ่ มตระหนักด)ี
* ท้ังน้ีกล่าวตามความเคยชินของสามัญชน แต่นักวิชาการประวัติศาสตร์อาจก�ำหนดว่ายุคสมัยใหม่ (modern) ของ
อารยธรรมโลก เร่ิมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (renaissance) คริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ ก็ได้ เช่น Brinton, Christopher, Wolff
(๑๙๕๗)