Page 35 - ไทยศึกษา
P. 35

แนวคิดในการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-25
สว่ นกลาง มากกวา่ จะแตกตา่ งอยา่ งในสมยั โบราณ เพราะความดอ้ ยอำ� นาจวาสนาทางการปกครอง สว่ นภมู ภิ าค
หรอื ชนบทจงึ ไม่เจรญิ เท่าเทียมส่วนกลางคือเมอื งหลวง

       ดงั นน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ การกำ� หนดขอบเขตของสงั คม เชน่ “สว่ นกลาง” และ “สว่ นภมู ภิ าค” ซง่ึ เคย
ท�ำได้ง่ายและชัดเจนในสังคมสมัยก่อนน้ัน บัดนี้ในสังคมสมัยปัจจุบันท�ำกันได้ยากขึ้นในหลายประเทศ
เพราะ “สว่ นกลาง” มคี วามเดน่ เปน็ เฉพาะนอ้ ยลง ไมแ่ ตกตา่ งมากมายจาก “สว่ นภมู ภิ าค” เหมอื นในสมยั
ก่อน เมืองการค้าและอุตสาหกรรมสร้างเมืองในประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือออสเตรเลีย มีขนาด
ประชากรและรายไดท้ อ้ งถน่ิ มากกวา่ เมอื งหลวง ผลกค็ อื ในสงั คมระดบั ประเทศเกย่ี วกนั เชน่ นนั้ มสี ว่ นยอ่ ย
ทแี่ บง่ ไดเ้ ปน็ แตล่ ะภาคทตี่ า่ งกนั ของประเทศ มากกวา่ ทจ่ี ะแบง่ เปน็ ความแตกตา่ งระหวา่ ง “สว่ นกลาง” กบั
“ส่วนภูมิภาค” การบรรยายลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมของประเทศ จึงตอ้ งแยกตามลักษณะเฉพาะ
ของแต่ละภาค มากกวา่ ทจ่ี ะมลี กั ษณะเดยี วจาก “ส่วนกลาง” เปน็ ตัวแทนของทั้งสังคมระดับประเทศ

       แม้แต่การกำ� หนดเปน็ สงั คม “สว่ นเมอื ง” กบั “สว่ นชนบท” ที่ท�ำได้ไม่ยากในสังคมเกษตรกรรม
แบบโบราณวา่ ตรงกนั กับ “สว่ นกลาง” และ “สว่ นภูมิภาค” เปน็ ตน้ น้นั มาบดั นใ้ี นประเทศอุตสาหกรรม
สมยั ใหมห่ ลายประเทศก็จำ� แนกได้ไมช่ ัดเจนเหมอื นแต่กอ่ น เพราะสดั สว่ นประชากรที่อยใู่ นเขตเมือง และ
ประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมพาณชิ ยกรรมมมี ากกวา่ มอี ยใู่ นเขตชนบท ซง่ึ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม และ
แบบอย่างการด�ำเนินชีวิตของชาวเมืองก็แทรกซึมเป็นเปลี่ยนวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของชาวชนบท จน
มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั มากกวา่ ความแตกตา่ งกนั และไมม่ เี มอื งใดเมอื งหนงึ่ เปน็ ตวั แทนของสงั คม “สว่ นกลาง”
ได้เหมือนเมอื งหลวงในสงั คมสมัยกอ่ น

       ขอบเขตของสงั คมแตล่ ะสว่ นทเี่ คยกำ� หนดเหน็ แตกตา่ งกนั ชดั เจนในอดตี แตป่ จั จบุ นั คลา้ ยคลงึ กนั
มากขน้ึ และอาจไมแ่ ตกตา่ งกนั เลยในอนาคต ระหวา่ ง “สว่ นกลาง” กบั “สว่ นภมู ภิ าค” หรอื “สว่ นเมอื ง”
กบั “สว่ นชนบท” เหลา่ นม้ี คี วามคลคี่ ลายไมเ่ ทา่ กนั ในทกุ สงั คมของมนษุ ย์ เพราะแตล่ ะสงั คมมวี วิ ฒั นาการ
และเปลย่ี นแปลงไปไมเ่ สมอกนั การบรรยายลกั ษณะของแตล่ ะสงั คมจงึ ตอ้ งพจิ ารณาตามเงอื่ นไขและสภาพ
ของสงั คมนั้น

                             ภาพท่ี ๑.๑ สังคมเมืองและสังคมชนบท
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40