Page 32 - ไทยศึกษา
P. 32

๑-22 ไทยศกึ ษา
เดยี วกนั กับคนพม่า มแี ต่ความรูส้ ึกผูกพันกับคนกะเหรีย่ งด้วยกนั เท่านัน้ แต่ในข้อเท็จจรงิ แลว้ ก็ไมใ่ ชค่ น
กะเหรยี่ งทกุ คนทเี่ ปน็ พลเมอื งของประเทศเมยี นมาทสี่ นใจจะเขา้ รว่ มขบวนการตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งเอกราช จำ� นวน
หนึ่งยังคงเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศ และอาจไม่ติดใจที่จะแยกตัวมาตั้งประเทศใหม่ สังคมกะเหรี่ยงจะ
รวมคนกะเหรย่ี งทกุ ฝา่ ยในประเทศ ทง้ั ทเ่ี ขา้ ขา้ งรฐั บาลกลาง และทต่ี อ่ ตา้ นรฐั บาลเชน่ นนั้ หรอื โดยอา้ งการ
มีภาษาและวัฒนธรรมเดียวกัน ถ้านับอย่างนั้นจะรวมคนกะเหรี่ยงท่ีอยู่นอกรัฐคะยาห์ (คือ รัฐของคน
กะเหรี่ยงในประเทศเมียนมา) ด้านนอกประเทศเมียนมาด้วยหรือไม่ ดังเช่นคนกะเหร่ียงท่ีอยู่ในเขต
ประเทศไทย จังหวัดกาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน ฯลฯ

๒. 	สังคม/วัฒนธรรมระดับประเทศกับสังคม/วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์

       “สงั คม” ทก่ี ำ� หนดดว้ ยกล่มุ คนท่พี ูดภาษาเดยี วกนั มธี รรมเนียมประเพณี แบบอย่างการดําเนิน
ชวี ติ ฯลฯ อยา่ งเดยี วกนั แตไ่ มม่ ปี ระเทศของตนเอง เชน่ สงั คมกะเหรยี่ ง เมอื่ เทยี บกบั สงั คมทกี่ ำ� หนดดว้ ย
ความเป็นประเทศเดียวกัน แต่ประกอบด้วยประชากรหลายกลุ่มชาติภาษาและวัฒนธรรม เช่น สังคม
(ประเทศ) เมียนมาน้นั มตี วั อย่างท�ำนองเดียวกนั อีกหลายราย ประเทศเพื่อนบา้ น เช่น ประเทศมาเลเซยี
ประกอบดว้ ยกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ*ใหญ่ๆ คอื กลุ่มมลายู กล่มุ จนี และกลุ่มอินเดยี ในฟากตะวันตกของประเทศ
ทเ่ี ปน็ บรเิ วณแหลมมลายู แตใ่ นฟากตะวนั ออกบนเกาะกาลมิ นั ตนั (บอรเ์ นยี ว) และปจั จบุ นั แบง่ เปน็ รฐั ซาบาห์
รัฐซาราวัก ของประเทศมาเลเซยี สว่ นหน่ึง มณฑลหรอื จังหวดั กาลมิ ันตันของประเทศอินโดนเี ซียสว่ นหนงึ่
กบั สว่ นสดุ ทา้ ยทเ่ี ปน็ ประเทศบรไู นนน้ั ประชากรมาเลเซยี ในรฐั ซาบาหแ์ ละซาราวกั สว่ นใหญเ่ ปน็ คนพนื้ ถน่ิ
ที่มีชื่อเป็นเผ่าเมลานา เผ่าอิบาน เผ่าดายัก เผ่าคะยัน ฯลฯ ซ่ึงมีลักษณะแบบอย่างวิถีชีวิตเป็นต่างหาก
ของตนเอง ไมเ่ หมอื นกลมุ่ ประชากรบนแหลมมลายู

       ถา้ กลา่ วถงึ “สงั คมมาเลเซยี ” ซง่ึ เปน็ ชอื่ ของประเทศกจ็ ะรวมทกุ กลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ ดงั กลา่ ว ซงึ่
แต่ละกลมุ่ มวี ฒั นธรรมเฉพาะของตัวเองไมซ่ ้ำ� กัน สงั คมใหญ่ระดบั ประเทศจึงไม่มีลกั ษณะ วัฒนธรรมของ
กลุ่มชาติพนั ธใ์ุ ดเปน็ กล่มุ เดยี วมาเปน็ เครอื่ งกำ� หนดได้ “วฒั นธรรมมาเลเซยี ” จงึ ตอ้ งรวมลักษณะของทกุ
วฒั นธรรมยอ่ ยของทกุ กลมุ่ ประชากร แตอ่ าจมกี ารเนน้ บางสว่ นของวฒั นธรรมใหเ้ ปน็ ของกลางรว่ มกนั ของ
ท้ังประเทศ ทีเ่ รยี กเปน็ “สงั คมมาเลเซีย” เชน่ ใชภ้ าษามลายูเป็นภาษาประจำ� ชาติ หรือใหศ้ าสนาอิสลาม
เป็นศาสนาประจ�ำชาติ โดยไม่ขัดข้องแต่ละกลุ่มสังคมและวัฒนธรรมย่อยภายในประเทศชาติท่ีเป็นสังคม
ใหญ่ร่วมกัน การก�ำหนดขอบเขตของ “สังคมมาเลเซีย” จึงมีความแตกต่างจากการก�ำหนดขอบเขตของ
“สงั คมมลาย”ู ก็เปน็ สังคมคนละประเภทกนั ดว้ ยเหตุว่า “มาเลเซีย” เป็นชอ่ื ใหมท่ ต่ี ้งั ขึน้ สำ� หรับประเทศ
สมัยใหม่ สว่ น “มลายู” เปน็ ค�ำเก่าท่ีเปน็ ชอื่ ของกล่มุ ชาติพนั ธุซ์ ่งึ พูดภาษาและมธี รรมเนียมประเพณีชีวติ
อย่างเดยี วกัน (ซงึ่ อาจรวมความรสู้ กึ ว่ารว่ ม “ชาติ” คือกำ� เนดิ จากบรรพบรุ ุษเดียวกนั ด้วย)

       “สังคม” ท่ีร่วม “วัฒนธรรม” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน แต่ไม่ได้รวมเป็นประเทศเดียวกันนั้น
ที่เป็นตัวอย่างใกล้ตัวและรู้จักคุ้นเคยกันดีก็คือ สังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์จีน ซึ่งนอกจากจะมี

         * คอื กลมุ่ คนทถ่ี อื วา่ รว่ มกำ� เนดิ รว่ มบรรพบรุ ษุ เปน็ “ชาต”ิ เดยี วกนั พดู ภาษาหรอื ถอื ธรรมเนยี มประเพณที เ่ี ปน็ แบบอยา่ ง
การดำ� เนินชวี ติ เชน่ เดยี วกัน เท่ากับเป็นกลุ่มสังคมทรี่ ่วมวัฒนธรรมเดียวกนั อย่างสมบูรณ์
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37