Page 42 - ไทยศึกษา
P. 42
๑-32 ไทยศึกษา
ในแงป่ ระวัติศาสตร์ หน่วยบรหิ ารปกครองทีน่ ับเป็นประเทศในปัจจุบันน้ัน มักนำ� เอาเฉพาะที่สบื
ต่อมาจากอาณาจักรสุโขทัยในตอนต้นเดิมเริ่มแรก ซึ่งคล่ีคลายต่อมาเป็นอาณาจักรอยุธยา ธนบุรี จนถึง
รัตนโกสนิ ทร์ ถ้านบั เพยี งเท่านี้ ขอบเขตของสงั คมไทยในแต่ละยุคสมัยตา่ งๆ กม็ อี าณาเขตและจำ� นวนกบั
ประเทศสมาชกิ ตา่ งๆ กัน ตามรปู แบบของระบบการบริหารปกครองของแต่ละสมยั ซง่ึ ไมไ่ ด้ใหค้ วามเปน็
พลเมอื งอยา่ งเทา่ เทียมกันแกร่ าษฎรทกุ หม่เู หล่า เชน่ ในสมยั ทีแ่ ยกหัวเมืองประเทศราชมเี จ้าปกครองเอง
พลเมอื งท่ีเปน็ กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุอ่ืน แต่มีเจา้ นายของตนปกครองด้วยธรรมเนยี มประเพณขี องตัวเองนนั้ ยอ่ ม
เป็นเสมือนสังคมอ่ืนท่ีครอบครองสมาชิกของตนเอง ไม่มีสถานภาพเป็นสมาชิกของสังคมประเทศชาติ
เดียวกันอย่างในระบบการปกครองปัจจุบัน แม้แต่คนท่ีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยด้วยกัน หากอยู่ในหัวเมือง
ประเทศราช (เช่น หัวเมือง “ลาว” แห่งอาณาจักรล้านนา มีเชียงราย เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา
แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน กับอาณาจักรล้านช้าง เมืองหลวงพระบาง เวียงจันทน์ จ�ำปาสัก เป็นอาทิ)
ตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามาจนถงึ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ กอ่ นมกี ารยกเลกิ เมอื งประเทศราชทงั้ หมด
ในสมยั รชั กาลที่ ๕ กเ็ ปรยี บเสมอื นอยใู่ นตา่ งสงั คมกนั กบั คนไทยทอี่ ยใู่ ตป้ กครองโดยตรงของพระมหากษตั รยิ ์
และขนุ นางขา้ ราชการไทย ระเบดิ ประเทศราชทงั้ หลายถา้ สบโอกาสจะเปน็ อสิ ระไดเ้ มอ่ื ใด กพ็ รอ้ มทจี่ ะแยกตวั
ออกไปจากภายใต้การปกครองของเมืองหลวงเสมอ พอใจท่ีจะต่างคนต่างอยู่เป็นเมืองอิสระฉันนครรัฐ
มากกวา่ เหตนุ ตี้ ามประวตั ขิ องชนชาตไิ ทยกอ่ นสมยั อาณาจกั รสโุ ขทยั วา่ อยกู่ นั เปน็ เมอื งอสิ ระแยกกนั เชน่
เมืองเชยี งใหม่ เชยี งราย เชียงแสน ล�ำพนู เชลยี ง ฝาง ฯลฯ ซึ่งเปน็ เมืองรว่ มสมัยและไมห่ ่างไกลจากเมอื ง
บางยางกับเมืองราด ซ่งึ รวมก�ำลงั กันสลัดอำ� นาจปกครองของขอม มายึดเมอื งสุโขทยั แล้วประกาศตัง้ เปน็
ราชธานีให้พ่อขุนบางกลางหาวเป็นกษัตริย์นามขุนศรีอินทราทิตย์นั้น เมืองทั้งหลายนี้ล้วนเป็นเมืองของ
ชนชาตไิ ทยดว้ ยกนั ทงั้ สนิ้ แตต่ ราบใดทต่ี า่ งเปน็ อสิ ระไมร่ วมกนั ภายใตผ้ ปู้ กครองเดยี วกนั แตล่ ะเมอื งกเ็ ปน็
ตา่ งสงั คมกนั ไป ความเปน็ “สงั คม” กบั ความเปน็ “ชนชาต”ิ จงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพรอ้ มกนั เสมอไป เมอื งของ
คนไทย (ไต) อน่ื ๆ สมัยนั้นท่อี ยู่เขตของประเทศเมียนมา ลาว จีน และเวยี ดนามปัจจบุ นั ตา่ งก็เปน็ แตล่ ะ
สงั คมของชนชาติไทยท่ไี มไ่ ด้รว่ มกนั เป็นสังคมเดียวกันท้ังหมด
ดังน้ัน การบรรยายลักษณะของ “สังคมไทย” ในหน่วยต่อๆ ไปของชุดวิชานี้ ย่อมจะกล่าวถึง
สังคมไทยท่ีสืบต่อกันมา เป็นสังคมในประเทศไทยปัจจุบันมากกว่าจะรวมสังคมของชนชาติไทย (ไต)
ทง้ั หมด ซง่ึ อยนู่ อกเขตประเทศไทยดว้ ย ทง้ั นโ้ี ดยคำ� นงึ วา่ ในแตล่ ะยคุ สมยั ของประวตั ศิ าสตร์ ขอบเขตของ
สังคมไทยที่จ�ำกัดไว้น้ี ก็ยังแตกต่างกันได้ตามเกณฑ์ที่ใช้ของคนแต่ละสมัยน้ันๆ นักวิชาการท่ีบรรยาย
ลักษณะของ “สังคมไทย” จึงประสบปัญหาว่าจะระบุให้ทราบขอบเขตชัดเจนกันอย่างไร ของยุคสมัยใด
นกั วชิ าการอาจใชเ้ กณฑ์กว้างก�ำหนดขอบเขตของสังคมเกินกว่าท่ีสมาชิกของสังคมรู้สึกหรือต้องการเอง
กไ็ ด้ แตถ่ ้าระบุให้ทราบกันไว้ลว่ งหน้า กส็ ามารถปรับความเข้าใจตามไปได้ เพราะภายในขอบเขตที่กวา้ ง
หรือแคบนัน้ สงั คมก็จะมสี ภาพต่างกนั ตามไปด้วย