Page 47 - ไทยศึกษา
P. 47
แนวคดิ ในการศึกษาสงั คมและวัฒนธรรมไทย ๑-37
เหตุที่ต่างกัน เป็นเพราะเมืองในสมัยโบราณคือที่พ�ำนักของผู้ท�ำหน้าท่ีบริหารปกครองกับผู้ที่มี
อาชพี การคา้ และการชา่ ง กบั ผมู้ หี นา้ ทรี่ บั ใชบ้ รกิ ารคนทมี่ อี ำ� นาจและมที รพั ยพ์ อทจ่ี ะใชส้ อยหรอื วา่ จา้ งผอู้ น่ื
ท�ำงานให้ตนได้ แต่ชนบทเป็นท่ีอยู่อาศัยของชาวไร่ชาวนา เกษตรกร ผู้เป็นไพร่ฟ้าประชาชนซึ่งเป็นคน
ส่วนใหญ่ในสังคมท่ีมีการผลิตหลักคือเกษตรกรรม ชาวชนบทผู้เป็นสามัญชนย่อมมีแบบอย่างชีวิตต่างไป
จากคนทีเ่ ปน็ ข้าราชการหรอื พ่อคา้ และชา่ งฝีมอื ในเมอื ง ดว้ ยกจิ กรรมของอาชพี ท่ตี า่ งกัน คนชนบทท�ำมา
หากนิ ดว้ ยการเพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ ผลติ อาหารทเ่ี ปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการครองชพี สามารถบรโิ ภคผลผลติ
ของตนเองเลย้ี งชวี ติ ไดเ้ มอื่ ไมม่ ผี ใู้ ดแลกเปลย่ี นหรอื คา้ ขายดว้ ย แตช่ าวชนบทมที รพั ยส์ มบตั เิ พอ่ื การดำ� รงชวี ติ
ของตนนอ้ ยกวา่ ชาวเมือง ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ เพราะมอี ำ� นาจวาสนาบารมีเหนอื ผู้อื่นน้อย แต่ก็
สามารถพึง่ ตนเองได้ ส่วนใหญไ่ มต่ อ้ งงอนง้อขอบรกิ ารและเครอื่ งอุปโภคจากใคร
ในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชาวชนบทกบั ชาวเมอื งนนั้ โดยปกตจิ ะพบวา่ ชาวชนบทมกั ตอ้ งชำ� ระภาษี
หรอื สว่ ยสาอากรทเี่ ปน็ ผลผลติ สว่ นเกนิ จากการบรโิ ภคเองของตน แกช่ าวเมอื งผอู้ าศยั อำ� นาจทางการบรหิ าร
ปกครองของตนมาเรยี กเกบ็ เอาไปหรอื ในสมยั ทมี่ รี ะบบศกั ดนิ า ชาวชนบททอ่ี ยใู่ นฐานะไพรก่ ต็ อ้ งเอาแรงงาน
มารบั ใชช้ าวเมอื งผอู้ ยใู่ นฐานะมลู นายของตนดว้ ย ดว้ ยฐานะทางสงั คมทส่ี งู ตำ่� ตา่ งกนั เชน่ นี้ ลกั ษณะวถิ ชี วี ติ
ความเป็นอยู่ของชาวชนบทจึงมีส่ิงของเคร่ืองใช้และธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากของชาวเมืองด้วย
โดยปริยาย เขา้ ขา่ ยทต่ี ่างกันเปน็ วัฒนธรรมของชนช้ันตำ่� กับชนช้นั สงู ของสงั คมไดเ้ ช่นกนั
แตว่ ฒั นธรรมของชาวชนบทกบั ของชาวเมอื งกม็ กี ารถา่ ยเท แลกเปลย่ี นกนั ได้ เพราะอาศยั พน้ื ฐาน
ของความเป็นคนภาษาเดียวกัน “ประเพณหี ลวง” บางเรื่อง เช่น ความรูแ้ ละพธิ กี รรมทางศาสนา ไม่ว่าจะ
เปน็ พทุ ธหรอื พราหมณ์ ซง่ึ คนไทยรบั มาจากแหลง่ ตา่ งประเทศนน้ั จะมแี บบอยา่ งมาตรฐานอยทู่ ผี่ รู้ ซู้ งึ่ ราชสำ� นกั
ชุบเลี้ยงอุปถัมภ์ และผ่านต่อไปให้แก่ชาวบ้านชนบทเลียนแบบและดัดแปลงให้เรียบง่าย สอดคล้องกับ
ระดบั ความรู้ ความเข้าใจ และทรัพยากรของชาวบา้ น
ในทางกลับกนั ธรรมเนียมประเพณีและคตคิ วามเชื่อแบบชาวบ้านของคนสว่ นใหญใ่ นสงั คม กม็ า
สชู่ าวเมอื งไดต้ ามตวั บคุ คลทเ่ี ขา้ มารบั ใชเ้ จา้ นายในเมอื ง คตชิ าวบา้ นเหลา่ นย้ี อ่ มถา่ ยทอดใหแ้ กบ่ คุ คลระดบั
ใกลเ้ คยี งกนั กอ่ น เชน่ ในหมคู่ นทเ่ี ปน็ ขา้ ทาสบรวิ ารดว้ ยกนั แลว้ อาจซมึ ซาบขน้ึ ไปสบู่ คุ คลระดบั นายทเ่ี รยี ก
หาไปใช้สอยจนคุ้นเคย หรือด้วยวิธีท่ีชาวบ้านถูกถวายตัวมาเป็นสนมก�ำนัล หรือเป็นช่างฝีมือรับใช้งาน
หลวง ท�ำให้เร่ืองราวเนื้อหาจากชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านกลายมาเป็นส่วนประกอบของศิลปะและ
ประเพณีของชาวเมืองได้ ด้วยการรับมาปรุงแต่งดัดแปลงให้ประณีตพิสดารขึ้น ตามก�ำลังทรัพยากรและ
รสนิยมของชาวเมือง แต่สุดท้ายแล้วก็ยังแยกแสดงได้ว่าส่วนใดเป็นแบบอย่างของชาวบ้าน ส่วนใดเป็น
แบบอยา่ งของชาวเมอื ง ทเ่ี รยี กแยกกนั วา่ ศลิ ปะอยา่ งเรยี บงา่ ยของชาวบา้ น กบั ศลิ ปะชน้ั ประณตี ของชาวเมอื ง
ในแขนงสาขาตา่ งๆ กม็ ที มี่ าจากวฒั นธรรมสองแบบทต่ี า่ งกนั ของชาวชนบทและชาวเมอื งเชน่ นี้ ถงึ แมจ้ ะมี
ลกั ษณะรว่ มบางอย่างจากพ้นื ฐานของคนรว่ มชาตริ ว่ มภาษาเดยี วกนั กต็ าม