Page 44 - ไทยศึกษา
P. 44
๑-34 ไทยศึกษา
สนั สกฤต ทก่ี ลา่ วถงึ เรอ่ื งราวของไทยในสมยั กอ่ นหรอื หลงั การประดษิ ฐอ์ กั ษรไทยกต็ าม หรอื ทเ่ี ปน็ ขอ้ ความ
ในพงศาวดาร ตำ� นาน หรอื บนั ทกึ ของชนชาตอิ น่ื เชน่ จนี หรอื พมา่ เกยี่ วกบั เรอื่ งเมอื งไทยและคนไทยกด็ ี
คงไม่ได้กล่าวถึงชีวิตและแบบอย่างของการด�ำรงชีวิตของคนไทยทุกแง่มุม เป็นการบรรยายลักษณะ
วฒั นธรรมไทยของทกุ ๆ ทกุ สมยั ไดโ้ ดยสมบรู ณ์ แตม่ กั จะมเี รอ่ื งของผบู้ รหิ ารปกครองบา้ นเมอื งหรอื เรอ่ื งของ
การศาสนามากกวา่ อยา่ งอ่ืน เพราะเรื่องธรรมเนยี มประเพณี ชวี ิตความเปน็ อยูข่ องสามัญชนนั้นเปน็ เร่อื ง
ธรรมดาที่ผู้เป็นเจ้าของสังคมน้ันคุ้นเคยอยู่ หรือไม่เห็นว่ามีความส�ำคัญหรือจ�ำเป็นอันใดให้ต้องบันทึกไว้
เป็นหลักฐาน
สง่ิ ทเี่ ปน็ สามญั ธรรมดาในลกั ษณะชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวบา้ น อาจจะเปน็ ทน่ี า่ สนใจสำ� หรบั คน
ตา่ งชาตทิ ผี่ า่ นมาเหน็ ไมแ่ พส้ ง่ิ วจิ ติ รพสิ ดารของชนชน้ั สงู ผบู้ รหิ ารปกครอง เพราะฉะนน้ั บนั ทกึ การเดนิ ทาง
ของทตู พอ่ ค้า นักบวช นกั สำ� รวจ นักทอ่ งเท่ียว ฯลฯ ชาวตา่ งประเทศ ท่ีผ่านเข้ามาเหน็ สภาพของสังคม
และวฒั นธรรมไทยในยุคสมยั ต่างๆ มากบ้างน้อยบ้าง จงึ เปน็ บันทึกให้ความร้แู ก่คนไทยรุ่นหลงั ได้พอเห็น
ภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องบรรพบรุ ษุ ในอดตี โดยเฉพาะในสว่ นของสามญั ชนทอ่ี ารกั ษห์ ลวงผจู้ ดพงศาวดาร
ไมเ่ หน็ ความสำ� คญั จำ� เปน็ ตอ้ งบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน แตร่ ายงานขอ้ เขยี นของชาวตา่ งประเทศน้ี ก็มีจ�ำกดั อยู่
เท่าที่เขามีโอกาสผ่านพบเห็นสภาพสังคมและวัฒนธรรมของไทยในประสบการณ์ชีวิตช่วงน้ัน และข้ึนอยู่
กบั ความเข้าใจ ทอี่ าจคลาดเคลือ่ นกบั การแต่งเตมิ หรอื ตดั ทอนเรื่องราวดว้ ย
นักประวัติศาสตร์ที่พยายามหาภาพของสงั คมและวัฒนธรรมไทยในอดีต นอกจากจะอาศยั ข้อมูล
จากแหลง่ สำ� คญั ทงั้ สองน้ี คอื จารกึ และพงศาวดารของเจา้ ของสงั คม และของบา้ นเมอื งอน่ื ทมี่ คี วามสมั พนั ธ์
เปน็ ทางการในระดับผู้บริหารปกครองต่อกนั กบั บนั ทึกรายงานการทอ่ งเที่ยว เดนิ ทาง คา้ ขาย ฯลฯ ของ
ชาวตา่ งประเทศแลว้ ยงั อาจอาศยั วรรณกรรมลายลกั ษณท์ กี่ วไี ดป้ ระพนั ธบ์ รรยายไวใ้ นแตล่ ะยคุ สมยั วา่ จะ
มเี ค้าพอให้นึกถงึ ภาพชวี ิตความเปน็ อยู่และแบบอย่างการด�ำรงชีวติ ของผู้คนในสมัยนัน้ ไดบ้ า้ ง ถงึ แมจ้ ะมี
ผู้ทักท้วงด้วยว่า ควรระวังจินตนาการท่ีแต่งสมมติข้ึน อันไม่ตรงกับความเป็นจริงเสมอไปด้วย นอกจาก
แหลง่ ข้อมลู ประเภทวรรณกรรมทีบ่ รรยายความแลว้ ภาพเขยี นแกะสลกั กบั รปู ปั้นประตมิ ากรรมทีเ่ ปน็ งาน
ศลิ ปะของยคุ สมยั ซงึ่ โดยปกตเิ ปน็ หลกั ฐานวฒั นธรรมในสว่ นทเี่ ปน็ การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปกรรมของคนยคุ นน้ั
แลว้ ก็ยังอาจให้เคา้ เป็นขอ้ มูลแสดงธรรมเนียมประเพณี ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องผูค้ นได้บ้างดว้ ย
นกั โบราณคดที ศี่ กึ ษารอ่ งรอยของวฒั นธรรมโบราณจากหลกั ฐานทางวตั ถุ สถาปตั ยกรรม ศลิ ปกรรม
หัตถกรรม ฯลฯ ท่ียังไม่สูญหายท�ำลายหมดจากยุคสมัยหน่ึงๆ นั้น นอกจากจะได้ความรู้ประวัติศาสตร์
เฉพาะเรอ่ื งตามลกั ษณะของวตั ถทุ คี่ น้ พบอนั แสดงวฒั นธรรมของมนษุ ยใ์ นเรอื่ งนน้ั ๆแลว้ อาจยงั สนั นษิ ฐาน
เพิ่มเติมจากซากวัตถุท่ีเป็นรูปธรรมไปถึงธรรมเนียมประเพณี หรือความเช่ือที่เป็นนามธรรมมาประกอบ
การอธบิ ายจนเกดิ ภาพของสงั คมวัฒนธรรมทเี่ จา้ ของซากวัตถนุ น้ั ๆ ขน้ึ มาบ้าง (เช่น จากแผนผงั ของซาก
วหิ าร อาจสงั เกตทศิ ทางการหนั หนา้ วหิ าร แสดงความเชอื่ ในทศิ และเทพเจา้ รปู ทรงของวหิ ารแสดงความเชอื่
ในศูนย์กลางของจักรวาลหรือความบันดาลใจจากพระผู้เป็นเจ้า ขนาดของสิ่งก่อสร้างแสดงประสิทธิภาพ
ของการจัดระบบแรงงานและการบรหิ ารปกครอง ลวดลายส่ิงประดบั แสดงระดับความสามารถทางเทคนคิ
วิธีของชา่ งและหลกั สนุ ทรยี ศาสตรข์ องศลิ ปิน ฯลฯ) การสนั นษิ ฐานของข้อความประกอบเช่นนี้ อาจจะถกู
หรือผดิ ก็ได้ แล้วแตว่ า่ มีหลักเกณฑท์ ่ีสมเหตสุ มผลกับหลักฐานอนื่ ที่สนบั สนนุ อยู่มากนอ้ ยเพยี งใด