Page 21 - ไทยศึกษา
P. 21

แนวคดิ ในการศกึ ษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-11
       สังคมหรอื กลุม่ สังคมกเ็ ชน่ กัน ต้องมีบรเิ วณสถานที่และระยะเวลาทค่ี รอบครองอยู่ และในขณะใด
ขณะหนงึ่ ณ ทใี่ ดทหี่ นง่ึ นน้ั จะมสี งั คมหรอื คนกลมุ่ อน่ื เขา้ มาครอบครองบรเิ วณเดยี วกนั ในเวลาเดยี วกนั ไมไ่ ด้
หากจะให้กลุ่มอ่ืนใดเข้ามาครองครองก็เพราะกลุ่มที่ครอบครองอยู่เดิม ๑) ไม่ต้องการจะใช้บริเวณนั้น
อกี ตอ่ ไปตามความพอใจและสมคั รใจของตนเอง หรอื ๒) ไม่สามารถขัดขืนตา้ นทานกล่มุ อนื่ ทแี่ ข็งแรงกว่า
ทีม่ าแยง่ ชิงไป
       บรเิ วณสถานทใี่ นชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ ทเี่ จา้ ของชวี ติ ใชเ้ ปน็ พำ� นกั ไมว่ า่ จะเปน็ เพยี งชวี ติ ของบคุ คล
หรอื ชวี ติ ของสงั คม จงึ เท่ากับเป็นสภาพแวดล้อมทางกายภาพของชวี ติ ในขณะน้ันๆ ท่จี ะตอ้ งพิจารณา
       ๒.๑ 	สถานท่ี บรเิ วณซงึ่ รา่ งกายหรอื ตวั ตนหนง่ึ ครอบครองอยใู่ นขณะใดขณะหนงึ่ หากเปน็ ตวั ตน
กายภาพทไี่ รช้ วี ติ บรเิ วณสถานทน่ี น้ั กเ็ ปน็ เพยี งเนอ้ื ทใี่ หส้ ง่ิ นน้ั ตงั้ อยแู่ ละปรากฏไดเ้ ทา่ นนั้ ถงึ อยา่ งนล้ี กั ษณะ
ของสถานทบี่ รเิ วณกต็ อ้ งมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะหรอื สภาพของสงิ่ นนั้ ทจ่ี ะใชบ้ รเิ วณเปน็ ทต่ี งั้
เชน่ สง่ิ ทม่ี รี ปู ทรงฐานแบนอาจตงั้ อยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คงในเนอื้ ทที่ พ่ี น้ื ผวิ ขรขุ ระและลาดเอยี งไดพ้ อควร แตส่ งิ่ ที่
เปน็ วตั ถลุ กู กลมจะตงั้ อยคู่ งทบ่ี นพนื้ ทเ่ี รยี บและลาดเอยี งไมไ่ ด้ เพราะจะตอ้ งเลอ่ื นไถลไปเสยี ถา้ วตั ถไุ รช้ วี ติ
สง่ิ นั้นเปน็ ของเลว สถานทีบ่ ริเวณท่จี ะให้สิง่ น้ันครอบครองอย่เู ป็นท่ีม่นั คงได้ กจ็ ะต้องมลี ักษณะที่โอบอ้อม
และไม่รั่วซึม ท�ำนองภาชนะบรรจุจึงจะให้วัตถุนั้นครอบครองเนื้อท่ีบริเวณได้ แต่รูปทรงลักษณะของสิ่งท่ี
เปน็ ของเหลวนั้นก็จะเป็นไปตามรูปทรงของ “ภาชนะ” หรือบริเวณสถานทีท่ ีค่ รอบครองน้นั เปน็ ตน้
       ถ้าวัตถสุ ง่ิ ของทเ่ี ปน็ ตวั ตนกายภาพนนั้ มีชีวติ บริเวณสถานท่ีต้งั ของส่งิ มชี ีวติ น้ันกจ็ ะไมเ่ ปน็ เพยี ง
ท่ีต้ังให้ตัวตนนั้นด�ำรงอยู่ปรากฏได้เท่าน้ัน แต่จะต้องเป็นแหล่งทรัพยากรที่มีปัจจัยเล้ียงชีวิตน้ันให้อยู่ได้
ดว้ ย เช่น บรเิ วณท่พี ืชจะอยไู่ ด้ก็ต้องมีแรธ่ าตุอาหาร มนี ำ้�  มแี สงสว่าง บรเิ วณที่สตั วน์ �้ำจะอยู่อาศยั ไดย้ อ่ ม
ตอ้ งมปี จั จยั ดำ� รงชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั อวยั วะธรรมชาตขิ องชวี ติ นนั้ และบรเิ วณทพ่ี ำ� นกั อาศยั ของสตั วบ์ กหรอื
สัตว์อากาศ ก็ต้องมีทรัพยากรอาศัยของสัตว์บกหรือสัตว์อากาศ ก็ต้องมีทรัพยากรอาหารและส่ิงอ�ำนวย
ความปลอดภัยใหช้ วี ติ น้ันอย่รู อดได้ตามสมควรเช่นกัน
       สถานทีส่ �ำหรบั ชีวิตประเภทมนุษย์ อยา่ งนอ้ ยกต็ ้องมีอาหาร แรธ่ าตแุ ละวตั ถดุ ิบทชี่ ว่ ยยงั ชีพและ
รักษาชีวิตใหอ้ ยรู่ อดปลอดภยั ได้ ในฐานะทม่ี นุษย์เปน็ ชีวติ เทยี บไดก้ ับประเภทสตั ว์บก มีเลือดอนุ่ เลี้ยงลูก
ดว้ ยนม แตน่ อกจากนนั้ ในฐานะทมี่ นษุ ยเ์ ปน็ สตั วพ์ เิ ศษทส่ี ามารถสรา้ งทำ� เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชม้ าเปน็ อปุ กรณ์
ช่วยการด�ำรงชวี ิตไดไ้ มจ่ �ำกัดอยู่แต่อวัยวะธรรมชาตเิ ยย่ี งสัตวเ์ ดรัจฉานทั่วๆ ไป บรเิ วณทอี่ ย่อู าศยั จึงต้อง
มีให้ทัง้ ส่ิงทจี่ ะเปน็ ปจั จยั หนึง่ ทชี่ ีวิตมนุษย์ตอ้ งการ คือ อาหาร เครอ่ื งน่งุ ห่ม ที่อยอู่ าศัย และยารักษาโรค
กับปัจจัยอ่ืนๆ เพิ่มเติมตามที่มนุษย์จะพอใจต้องการและสามารถสร้าง ท�ำด้วยการแปรรูปวัสดุธรรมชาติ
มาเป็นเครอื่ งใช้ไมส้ อย บำ� รงุ บำ� เรอความสขุ ความสบายของชวี ติ ด้วยสถานที่บริเวณที่มนษุ ยอ์ ยู่อาศัย จงึ
ไม่ใช่เพียงที่ต้ังหรือท่ีซึ่งมีสภาพสอดคล้องกับลักษณะชีวิตตามธรรมชาติของสิ่งน้ันเท่านั้น แต่ยังต้องมี
ทรพั ยากรสนองความตอ้ งการนอกเหนอื ธรรมชาตกิ ายภาพชวี ภาพดว้ ย คอื ตอ้ งมวี สั ดทุ ม่ี นษุ ยม์ จี นิ ตนาการ
และความสามารถสร้างสรรค์ประดิษฐ์แปรรูปเป็นหัตถกรรม ศิลปกรรม ประดับชีวิตของมนุษย์ตามความ
ตอ้ งการปรารถนา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26