Page 23 - ไทยศึกษา
P. 23
แนวคิดในการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-13
อุปมาชีวิตของบุคคลกับอุปไมยชีวิตของชุมชนหรือสังคม ในแง่หนึ่งก็อาจพอเทียบกันได้ ถึงแม้
ในขน้ั สดุ ทา้ ยอาจเทยี บกนั ไมไ่ ดจ้ รงิ คอื ในแงท่ พี่ อเทยี บกนั ได้ ชวี ติ ของชมุ ชนหรอื สงั คมเมอื่ เรม่ิ ตน้ ในตอนแรก
กเ็ ปรยี บเสมอื นเปน็ วยั ของทารก เมอ่ื ชมุ ชนเปน็ หลกั ฐานมน่ั คงขยายตวั กวา้ งขวางขน้ึ กเ็ ปรยี บเหมอื นสงั คม
เตบิ โตเปน็ วยั รนุ่ หนมุ่ สาว และสงั คมทเี่ จรญิ พฒั นารงุ่ เรอื งสดุ ขดี เปน็ เมอื ง เปน็ อาณาจกั ร ฯลฯ เหมอื นคน
ทเี่ จรญิ เตม็ ทท่ี งั้ ทางรา่ งกาย สตปิ ญั ญาและจติ ใจ เปน็ ผใู้ หญว่ ยั ฉกรรจ์ เปน็ ผคู้ รองเรอื น วยั กลางคนทท่ี ำ� งาน
ทำ� การ มฐี านะ มอี ำ� นาจวาสนาเตม็ ท่ี สงั คมทเี่ รม่ิ เสอื่ มถอยอำ� นาจเปรยี บเสมอื นเขา้ วยั ชรา สงั คมทม่ี ปี ญั หา
วนุ่ วาย ไมม่ ที ที่ ำ� กนิ ไมม่ งี านทำ� มแี ตอ่ าชญากรรม การทจุ รติ ฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวง ฯลฯ เปรยี บเสมอื นสงั ขาร
ทเ่ี ส่อื มโทรม เป็นโรคภัยใกลจ้ ะแตกดบั เทียบได้กบั ชว่ งตอนของชวี ติ ของบุคคล เป็นต้น
แต่ส่วนท่ีเทียบกันไม่ได้จริงก็ตรงช่วงชีวิตหรืออายุขัยของสังคม ที่เหมือนช่วงชีวิตมนุษย์ของคน
ระหวา่ งการเกดิ กบั การตายนน้ั ไมม่ กี ำ� หนดแนน่ อนเหมอื นวงจร อายขุ องคนทป่ี ระมาณไดว้ า่ ๖๐-๗๐ หรอื
๘๐ ปีโดยประมาณ หรือยาวนานท่ีสุดก็ร้อยปีเศษ จึงแบ่งเป็นช่วงตอนตามธรรมชาติของอินทรีย์ชีวภาพ
ของมนษุ ย์ เปน็ วยั ตา่ งๆ ตามมาตรฐานการเตบิ โตพฒั นาจนถงึ การเสอ่ื มโทรมของเซลลแ์ ละอวยั วะรา่ งกาย
ไดค้ อ่ นขา้ งแนน่ อนและชดั เจน แตไ่ มม่ ใี ครบอกไดว้ า่ ชว่ งอายหุ รอื วงจรชวี ติ ของสงั คมมนษุ ยเ์ ปน็ กป่ี ี กร่ี อ้ ยปี
กีพ่ ันปี ฯลฯ จากเวลาทส่ี ังคมเกดิ จนถึงเวลาทีส่ ังคมตาย
ยิง่ กว่านั้นอาจมีผู้สงสัยวา่ สังคมมีการตายทช่ี ดั เจนแนน่ อนเหมือนมนษุ ยป์ ุถุชนที่ตายหรือไม่ ถงึ
แมอ้ าจจะยอมรบั วา่ สงั คมมกี ารเกดิ ได้ เชน่ รวู้ า่ สงั คมอเมรกิ าเกดิ เมอ่ื ประเทศสหรฐั อเมรกิ าประกาศเอกราช
เม่ือ ๒๐๐ ปีเศษนี้ แต่ขณะน้ีสังคมอเมริกาอยู่ในวัยใด และจะแก่และตายเม่ือไร สังคมจีนเกิดเมื่อไรแน่
ถา้ นบั ครา่ วๆ ตามประวตั ศิ าสตรข์ องจนี กร็ าวๆ ๔-๕ พนั ปี ขณะนสี้ งั คมจนี อยใู่ นวยั ใด และสงั คมจนี จะสนิ้
อายุขัยเม่อื ไร หรือความเจริญอาจอยไู่ ปไดเ้ รื่อยๆ ไม่มีวันสิ้นสุด แตจ่ ะเปล่ยี นลกั ษณะไป เช่น จากสงั คม
จีนท่ีมีจักรพรรดิปกครองมาเป็นสังคมจีนที่มีประธานพรรคคอมมิวนิสต์เป็นประมุข และปกครองกันด้วย
ระบอบสงั คมนยิ ม และอาจใชร้ ะบอบประชาธปิ ไตยทนุ นยิ มในชว่ งตอ่ ไป หรอื จะเปน็ สงั คมคอมมวิ นสิ ตเ์ ตม็ รปู
สงั คมจนี ทแ่ี ปรเปลย่ี นรปู ไปเชน่ น้ี จะนบั วา่ เปลย่ี นไปจากวยั ใดเปน็ วยั ใด และจะมวี ยั สดุ ทา้ ยกอ่ นตายหรอื ไม่
คำ� ถามทำ� นองเดยี วกนั นถ้ี ามไดท้ กุ กบั สงั คม แตไ่ มม่ คี ำ� ตอบเปน็ ยตุ อิ ยา่ งเชน่ มาตรฐานชว่ งอายวุ ยั ของคน
ทเี่ ป็นปจั เจกชนได้ ท�ำใหอ้ ปุ มาอปุ ไมยช่วงชวี ติ ของบคุ คลกบั ชว่ งชีวติ ของสงั คมเปรยี บเทียบกนั ไม่ไดจ้ รงิ
แต่อย่างนอ้ ยการเปรียบเทยี บเทา่ ที่ว่ามา กพ็ อจะทำ� ใหเ้ ห็นวา่ มิตขิ องเวลาทีม่ ีผลต่อลกั ษณะของ
สงั คมมนษุ ยน์ นั้ มคี วามหมายไดห้ ลายอยา่ งตามแตช่ ว่ งของเวลาทนี่ ำ� มาใชพ้ จิ ารณาลกั ษณะของสงั คม คอื
อาจเป็นช่วงเวลาที่เป็นหน่วยฤดูกาลหรือรอบปีท่ีแสดงกิจกรรมของชีวิตในชุมชนหรือสังคมนั้น หรืออาจ
เป็นล�ำดบั เวลาทย่ี าวนานกว่าช่วงปีให้ยดื ยาวตอ่ กนั ไปไดต้ ามประวัตขิ องสงั คมนน้ั แนวคิดหลงั นี้ มติ ขิ อง
เวลามคี วามหมายใกลเ้ คียงกับเรือ่ งประวัตศิ าสตร์ (ในขณะที่มติ ขิ องสถานทีเ่ รยี กเป็นเรอ่ื งภูมศิ าสตร์)
สงั คมแตล่ ะสงั คมทมี่ อี ยใู่ นขณะน้ี ยอ่ มเรมิ่ มแี ละเปน็ มาแลว้ จากอดตี กอ่ นทจ่ี ะมาถงึ ปจั จบุ นั เรอ่ื งราว
ทเี่ ปน็ ชีวิตของสงั คมในอดตี คอื ประวัติ (บางครง้ั เรยี กเป็น “ประวัตศิ าสตร์”) ของสังคมนัน้ ซึ่งประกอบ
ด้วยเหตุการณ์และกิจกรรมทคี่ นในกล่มุ นัน้ กระท�ำหรือประสบมาในกระบวนการด�ำรงชีวิตของกลุ่มรว่ มกัน
เหตุการณ์บางอย่างทเ่ี กดิ ข้นึ เป็นประสบการณ์เฉพาะตวั ของสงั คมนัน้ ทีไ่ มซ่ ำ�้ ใคร ในความหมายว่า ถึงแม้
สังคมอ่ืนอาจเคยประสบเหตุการณ์ท�ำนองหรือประเภทเดียวกัน แต่เมื่อถือเหตุการณ์เช่นน้ันในล�ำดับของ