Page 25 - ไทยศึกษา
P. 25
แนวคิดในการศกึ ษาสงั คมและวฒั นธรรมไทย ๑-15
เครอื่ งมอื อปุ กรณท์ ส่ี ลบั ซบั ซอ้ นและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ แตล่ ะยคุ สมยั ซงึ่ เกดิ จากการประดษิ ฐค์ ดิ ทำ� ขน้ึ
มาใหม่ท่ีไม่ได้มีอยู่เองในธรรมชาติ และความสามารถในการปลูกสร้างบ้านเรือนหรือเคร่ืองอุปกรณ์การ
ก่อสรา้ งกไ็ มไ่ ด้มอี ย่ตู ามสัญชาตญาณของคนทีจ่ ะให้ทำ� ได้เองเหมือนๆ กัน แตต่ ้องอาศัยการเรียนร้ฝู ึกฝน
จากผทู้ ที่ ำ� เปน็ มากอ่ น และผทู้ เ่ี รยี นรแู้ ลว้ กย็ งั สามารถพลกิ แพลงเพม่ิ พนู วธิ กี ารใหมไ่ ดอ้ กี กอ่ นทจี่ ะผา่ นตอ่
ไปยังคนรุ่นหลงั
เมอ่ื เทยี บมนษุ ยก์ บั สตั วแ์ ลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ มนษุ ยด์ ดั แปลงปรงุ แตง่ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของ
บริเวณสถานที่พ�ำนักให้สนองความต้องการของชีวิตมากมายมหาศาล จนต้องนับว่าสัตว์แทบไม่ได้
เปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมให้รับใช้ชีวิตของตนเลย และฐานท่ีมนุษย์จะปรับร่างกายอวัยวะธรรมชาติให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่สัตว์จ�ำเป็นต้องท�ำให้ได้เพ่ือให้ชีวิตไม่ต้องสูญพันธุ์ มนุษย์กับใช้วิธีปรับ
สภาพแวดล้อมท่ีสอดคล้องกับชีวิตของตน ด้วยเคร่ืองมืออุปกรณ์ต่างๆ ท่ีคนประดิษฐ์คิดสร้างได้มากข้ึน
ตลอดเวลา เชน่ มนษุ ยส์ ามารถเคลอื่ นทไี่ ปในนำ้� ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งปรบั อวยั วะและชวี ภาพใหเ้ ปน็ อยา่ งปลา และ
มนษุ ยส์ ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ปในอากาศไดโ้ ดยไมต่ อ้ งกลายสภาพรา่ งกายเปน็ อยา่ งนก เพราะในแตล่ ะกรณนี นั้
มนษุ ยส์ รา้ งเครอ่ื งมอื วธิ กี ารในรปู ของพาหนะทเี่ ปลย่ี นลกั ษณะและประสทิ ธภิ าพตามความตอ้ งการและความ
สามารถของมนษุ ยท์ ีเ่ ปลย่ี นไปไมค่ งทตี่ ลอดเวลา
อุปกรณ์และวิธีการที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดสร้างขึ้นมาใช้ช่วยในการด�ำรงและด�ำเนินชีวิตของบุคคล
และกลมุ่ รว่ มกนั ทไี่ มต่ ดิ ตรงึ อยกู่ บั อวยั วะชวี ภาพของตนและนบั สภาพแวดลอ้ มธรรมชาตขิ องบรเิ วณสถานท่ี
ซ่ึงชีวิตอาศัยอยู่นี้รวมเรียกเป็น “วัฒนธรรม” ของมนุษย์แต่ละกลุ่มหรือหมู่คณะน้ัน ซึ่งจะปรากฏมีใน
รูปแบบวัตถุ เชน่ สิ่งของเครอื่ งใช้ในกิจการต่างๆ ของชวี ติ เปน็ กึง่ รูปธรรมนามธรรม คือ ท่าทาง กริ ิยา
มารยาท ระเบียบ กฎเกณฑ์วิธีการ ข้ันตอนในการท�ำงานหรือการพักผ่อน จนถึงส่งิ ท่เี ป็นนามธรรมแท้ๆ
ไมเ่ ปน็ วตั ถหุ รอื การกระทำ� ใหส้ งั เกตเหน็ รไู้ ดโ้ ดยตรงเลย คอื ความรู้ ความคดิ ความเชอ่ื และคา่ นยิ ม ทสี่ มาชกิ
ในกลุ่มเดยี วกนั มแี ละยดึ ถือไว้ใช้รว่ มกัน
อปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารในรปู แบบทงั้ หลายของแตล่ ะกลมุ่ นี้ ถงึ แมบ้ างอยา่ งอาจจะเหมอื นในกลมุ่ อนื่ ได้
เพราะบงั เอญิ คดิ ประดษิ ฐไ์ ดค้ ลา้ ยกนั โดยอสิ ระ หรอื อาจเพราะหยบิ ยมื กนั มานาน แตล่ ะสงั คมกจ็ ะมอี ปุ กรณ์
วธิ กี ารทเี่ ปน็ แบบแผนในการดำ� เนนิ ชวี ติ ของตนไมเ่ หมอื นของสงั คมอนื่ ทงั้ หมดนรี้ วมเรยี กเปน็ “วฒั นธรรม”
จงึ ท�ำใหล้ ักษณะของแต่ละสังคมตา่ งกนั ไป
อุปกรณ์และวิธีการที่เป็นส่ิงช่วยการด�ำเนินชีวิตร่วมกันของกลุ่มอย่างเป็นแบบแผนที่สมาชิกของ
สงั คมยดึ ถือรว่ มกันนีไ้ ม่วา่ ในสงั คมใด จะมสี ิ่งตอ่ ไปน้ี คอื
๓.๑ ภาษา เป็นอุปกรณ์การสื่อสารระหว่างสมาชิกที่เข้าใจและใช้ร่วมกันได้โดยการเรียนรู้จาก
ผทู้ ่อี ยแู่ ละใชก้ ันมาก่อน รวมทง้ั เครื่องมอื วิธีการและกฎเกณฑต์ ่างๆ ส�ำหรบั การสอื่ สาร
๓.๒ การแปรสภาพทรัพยากร เคร่ืองมือและวิธีการที่ใช้แปรสภาพของทรัพยากรธรรมชาติของ
โลกมาสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐาน คือ ปัจจัย ๔ ของชีวิต จนถึงความต้องการอื่นๆ สุดแต่ที่จะคิด
ปรารถนากนั ในหมู่สมาชกิ ของสงั คมนนั้ สว่ นน้ขี อง “วฒั นธรรม” คือ อปุ กรณท์ ม่ี นษุ ยส์ รา้ งท�ำขน้ึ มาเอา
ประโยชนจ์ ากโลกกายภาพ ไดแ้ ก่ ความรู้ ความเขา้ ใจคณุ สมบตั ขิ องสภาพสอื่ ในธรรมชาตทิ ป่ี จั จบุ นั เรยี กกนั