Page 10 - การอ่านภาษาไทย
P. 10

(8)

๔. การท�ำกิจกรรมในแบบฝึกปฏิบัติ

       นักศึกษาท�ำกิจกรรมทุกอย่างท่ีได้รับมอบหมายลงในแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมเหล่านี้จะมีผลใน
การเรียนของนักศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะนักศึกษาจะได้รับความรู้และความเข้าใจในการศึกษาชุดวิชา
มากยิ่งข้ึน

๕. การรับฟังรายการวิทยุกระจายเสียงและรับชมรายการวิทยุโทรทัศน์ (ถ้ามี)

       ชดุ วชิ าการอา่ นภาษาไทยอาจมรี ายการวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ๑๐ รายการ รายการละ ๒๐ นาที หรอื
รายการวิทยุโทรทัศน์ ๔ รายการ รายการละ ๒๕ นาที โดยทั้งรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุ
โทรทศั นเ์ ปน็ สื่อเสริมของชุดวิชา ถงึ แม้นักศกึ ษาจะไมส่ ามารถรับฟงั หรอื รับชมกจ็ ะไม่เปน็ อุปสรรคต่อการ
ศึกษาชุดวิชาน้ีแต่อย่างใด แต่ถ้าสามารถรับฟังและรับชมได้ก็จะท�ำให้มีความรู้และความเข้าใจกว้างขวาง
ข้ึน

       ในการรับฟังและรับชมรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุโทรทัศน์ นักศึกษาควรปฏิบัติ
ดังน้ี

       ๕.๑ 	ตรวจสอบตารางการออกอากาศและจดวัน เวลา และสถานท่ีออกอากาศ
       ๕.๒ 	เตรียมตัวก่อนฟังหรือชมรายการ
       ๕.๓ 	ปฏิบัติภารกิจหลังการฟังหรือชมรายการ
       ๕.๔ 	ระหว่างฟังหรือชมรายการโปรดบันทึกสาระส�ำคัญของรายการ

๖. การรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา (ถ้ามี)

       นักศึกษาสามารถใช้บริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา เพื่อเข้ารับการสอนเสริมตามวันและเวลา
ที่ก�ำหนดไว้ในตารางสอนเสริม (ถ้ามี) นอกจากนี้ อาจรับฟังเทปวิทยุหรือชมรายการโทรทัศน์ หรืออาจ
ค้นคว้าหนังสือและเอกสารต่างๆ ท่ีจัดเตรียมไว้ท่ีห้องสมุดของศูนย์บริการการศึกษา

       ในการขอรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา นักศึกษาจะต้องน�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาและ
หลักฐานการลงทะเบียนชุดวิชาไปแสดงด้วย

๗. การสอบ

       เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา นักศึกษาต้องเข้าสอบไล่ชุดวิชา ณ สนามสอบท่ีจัดไว้ท่ีศูนย์บริการการ
ศกึ ษา ตามวนั และเวลาทกี่ ำ� หนด นกั ศกึ ษาตอ้ งนำ� บตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษา ใบลงทะเบยี น และบตั รประจำ� ตวั
ประชาชนไปด้วย หาดขาดอย่างใดอย่างหน่ึงจะไม่มีสิทธ์ิเข้าสอบ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15