Page 12 - การอ่านภาษาไทย
P. 12

๖-2 การอา่ นภาษาไทย

                     แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา		 การอ่านภาษาไทย
หน่วยท่ี ๖	 การอ่านร้อยกรอง
ตอนท่ี

       ๖.๑ 	ลกั ษณะท่วั ไปของร้อยกรอง
       ๖.๒ 	รูปแบบของร้อยกรอง
       ๖.๓	แนวทางการอา่ นรอ้ ยกรอง
       ๖.๔ 	การอา่ นทำ� นอง

แนวคิด

       ๑.	รอ้ ยกรอง คือ งานศิลปะทางภาษาตามระเบียบกฎเกณฑท์ ก่ี �ำหนด ซ่งึ กวีของไทยทัง้ ในอดีต
          และปจั จบุ นั ผมู้ อี จั ฉริยภาพดา้ นการใชภ้ าษาได้สรา้ งสรรค์ขน้ึ ไว้เป็นทรพั ยส์ ินทางปญั ญาของ
          ชาติ

       ๒.	รอ้ ยกรองเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทแี่ สดงระเบยี บความงามของภาษาของชาติ โบราณาจารย์
          ไดป้ ระมวลความรเู้ กยี่ วกบั การรอ้ ยกรองไวเ้ ปน็ ตำ� รา ซงึ่ ไดร้ บั นบั ถอื เปน็ แบบฉบบั ตอ่ มาจนถงึ
          ปจั จบุ ัน

       ๓.	การอา่ นผลงานร้อยกรองอนั เปน็ ทรัพยส์ ินทางปญั ญาของชาติ โดยเฉพาะผลงานรอ้ ยกรองใน
          อดีตที่ได้รับนับถือว่าเป็นวรรณคดี จะช่วยให้ผู้อ่านได้รับความรู้ด้านต่างๆ และปรัชญาใน
          การดำ� รงชีวติ มรดกขนบประเพณีวัฒนธรรม ความเพลิดเพลิน จรรโลงใจ และน้อมนำ� ใหเ้ กิด
          ศรัทธาในการสงวนรกั ษา ตลอดจนสืบทอดมรดกศลิ ปะวรรณคดขี องชาติใหย้ ั่งยนื สืบไป

       ๔.	บรรพกวขี องไทยไดส้ รา้ งสรรคร์ ปู แบบของบทรอ้ ยกรองไวห้ ลากหลาย เชน่ รา่ ย กาพย์ กลอน
          โคลง ฉันท์ ซ่งึ รูปแบบเหล่านย้ี ังแยกย่อยออกไปอีกมาก

       ๕.	การอ่านบทร้อยกรองกระท�ำได้ทั้งการอ่านในใจและอ่านออกเสียงโดยมีความมุ่งหมายต่างๆ
          แตก่ ารอา่ นออกเสียงจะช่วยใหไ้ ด้รับรสแห่งร้อยกรองโดยสมบรู ณ์

วัตถุประสงค์

       เมือ่ ศึกษาหนว่ ยท่ี ๖ จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ
       ๑. 	อธบิ ายความหมายของรอ้ ยกรองได้
       ๒.	 เขียนผังและอธิบายรูปแบบของรอ้ ยกรองทเ่ี ป็นท่ีนิยมเขียนและอา่ นได้
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17