Page 15 - การอ่านภาษาไทย
P. 15

การอา่ นร้อยกรอง ๖-5

เรื่องที่ ๖.๑.๑
ร้อยกรองคืออะไร

๑. 	ความหมายของร้อยกรอง

       ตามรูปค�ำ “ร้อยกรอง” แปลว่า เลือกสรรคัดกรองน�ำมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน หมายถึง งาน
สร้างสรรค์ทางภาษาท่ีผู้สร้างสรรค์ใช้ระเบียบของภาษา ซึ่งมีรูปแบบและกฎเกณฑ์ข้อบังคับเฉพาะแต่ละ
รปู แบบ เชน่ กำ� หนดจำ� นวนคำ� ในแตล่ ะวรรค กำ� หนดจำ� นวนวรรค การรบั สง่ สมั ผสั กำ� หนดเสยี งวรรณยกุ ต์
ก�ำหนดเสียงของค�ำ เป็นต้น เพ่ือแสดงออกซ่ึงความคิด ความเห็น ประสบการณ์ หรือจินตนาการ หรือ
เล่าเร่ือง เล่าเหตกุ ารณใ์ ห้เปน็ ที่ปรากฏโดยมคี วามงามความไพเราะ และสาระทม่ี คี ุณค่าเปน็ สว่ นประกอบ
สำ� คัญ

๒. 	ค�ำท่ีหมายถึงร้อยกรอง

       แต่เดิมมา มีค�ำที่ใช้เรียกผลงานสร้างสรรค์ทางภาษาดังที่กล่าวถึงข้างต้นหลายค�ำ ได้แก่ กลอน
กานท์ ล�ำน�ำ กาพย์ ฉันท์ ต่อมาเรยี กวา่ ค�ำประพันธ์บ้าง กวีนิพนธ์บ้าง ร้อยกรองบา้ ง คำ� ว่า ร้อยกรอง
นอ้ี าจกล่าวไดว้ า่ เพ่ิงเกดิ ขึน้ ในชั้นหลงั

๓. 	ท่ีมาของร้อยกรองไทย

       ประชาชนชาวไทยทกุ ยคุ ทกุ สมยั ภาคภมู ใิ จทช่ี าตไิ ทยมี ภาษา เปน็ ของตนเอง ทง้ั ภาษาพูด และ
ภาษาเขียน มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวไว้ใน ศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี ๑ ว่า พ่อขุนรามค�ำแหง
มหาราช แห่งกรุงสโุ ขทัย ไดท้ รงประดิษฐล์ ายสอื ไทยขึ้น เมื่อพทุ ธศักราช ๑๘๒๖ ดังขอ้ ความในจารกึ วา่

          “เมื่อก่อนลายสือไทยน้ีบ่มี ๑๒๐๕ ศกปีมะแม พ่อขุนรามค�ำแหงหาใคร่ใจในใจ
                  แลใส่ลายสือไทยนี้ ลายสือไทยน้ีจึงมีเพ่ือขุนผู้น้ันใส่ไว้.....”

       ลายสอื ไทย หรอื ตวั อกั ษรไทยทพ่ี อ่ ขนุ รามคำ� แหงประดษิ ฐข์ น้ึ ไดว้ วิ ฒั นาการมาโดยลำ� ดบั จนเปน็
อกั ษรและภาษาทคี่ นไทยใชก้ นั อยใู่ นปจั จบุ นั นบั เปน็ เวลากวา่ ๗๐๐ ปมี าแลว้ ในระยะเวลาทผี่ า่ นมา บรรพชน
ไทยไดใ้ ช้อักษรไทย ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความเหน็ จินตนาการ และประสบการณอ์ อกเป็นภาษา
ท้ังร้อยแก้ว และร้อยกรองไว้เป็นจ�ำนวนมาก เช่น พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชได้โปรดเกล้าฯ ให้จารึก
เหตุการณ์ในรัชสมัยของพระองค์ลงบนแท่งศิลาเรียกว่า “ศิลาจารึกสุโขทัย” ข้อความมีลักษณะเป็น
ร้อยแก้ว แต่มสี ว่ นใกล้เคียงกับร้อยกรอง ทเ่ี รยี กว่า ร่าย จงึ นา่ จะอนุมานได้ว่า คนไทยมีภาษาไทยที่เออ้ื
อ�ำนวยและน�ำทางไปส่กู ารรอ้ ยกรองมาตง้ั แตส่ มัยสโุ ขทัย
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20