Page 20 - การอ่านภาษาไทย
P. 20

๖-10 การอา่ นภาษาไทย
            ๒) 	มีขนาดยาว บางเรื่อง เช่น พระอภัยมณี มีความยาวถึง ๒๕,๐๙๘ ค�ำกลอน นับว่า

กวไี ทยในอดีตเปร่อื งปราดปรีชาและอุตสาหะมาก
            ๓) 	มีคุณลักษณะของวรรณศิลป์ ได้แก่ แต่งดี มีอารมณ์สะเทือนใจ มีประโยชน์ ให้

ความเพลิดเพลิน
            ๔) 	เปน็ งานศลิ ปะทร่ี าชสำ� นกั สนบั สนนุ สง่ เสรมิ และอปุ ถมั ภ์ พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระราชวงศ์

จ�ำนวนมากทรงเป็นกวีสร้างสรรค์ผลงานอันมีค่าไว้เป็นจ�ำนวนมาก และทรงส่งเสริมให้กวีในราชส�ำนัก
สร้างสรรคผ์ ลงานด้วย

            ๕) 	เน้อื หาสาระครอบคลมุ เรือ่ งต่างๆ หลากหลาย มงุ่ แสดงอารมณ์
            ๖) 	มกั ขนึ้ ตน้ ดว้ ยการไหวค้ รู หรอื สรรเสรญิ บา้ นเมอื ง สรรเสรญิ พระรตั นตรยั โดยกวยี ดึ ถอื
แบบแผนของบรรพกวี
       ๒.๒ 	รายนามกวีส�ำคัญผู้สร้างสรรค์วรรณคดีมรดก เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระ
มหาราชครู ศรีปราชญ์ พระโหราธิบดี เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร (กุง้ ) พระมหานาควัดทา่ ทราย หลวงศรีปรชี า
(เซ่ง) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็
พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั สนุ ทรภู่ นายนรนิ ทร์ธเิ บศร สมเดจ็ กรมพระยาเดชาดศิ ร พระองค์เจ้าอิศรญาณ
หมอ่ มราโชทยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว เปน็ ต้น
       ๒.๓ 	รายช่ืองานร้อยกรองวรรณคดีมรดก ระหว่างเวลา ๗๐๐ กวา่ ปมี าน้ี กวีไทยได้สรา้ งสรรค์
ผลงานไว้เปน็ วรรณคดมี รดกตกทอดมาถงึ อนชุ นในปัจจบุ นั เป็นจ�ำนวนมาก เรือ่ งสำ� คญั ๆ เชน่
            -	 สมัยสุโขทัย (ราวพุทธศกั ราช ๑๗๘๑-๑๙๒๐) สุภาษิตพระร่วง
            -	 สมัยอยุธยา (พทุ ธศกั ราช ๑๘๙๓-๒๓๑๐) โองการแชง่ นา้ํ พพิ ฒั นส์ ตั ยา มหาชาตคิ ำ� หลวง
โคลงยวนพ่าย กาพย์มหาชาติ เสือโคค�ำฉันท์ (พระมหาราชครู) สมุทรโฆษค�ำฉันท์ ต�ำราจินดามณี
(วธิ แี ต่งกาพย์ กลอน) โคลงพาลสี อนน้อง โคลงเร่อื งราชสวสั ด์ิ กำ� สรวลศรปี ราชญ์ อนิรุทธิค์ ำ� ฉนั ท์ โคลง
ทวาทศมาส โคลงอกั ษรสามหมู่ โคลงเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนารายณม์ หาราช กาพยห์ อ่ โคลงประพาส
ธารทองแดง (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร-กุ้ง) ค�ำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง ลิลิตพระลอ โคลงนิราศหริภุญไชย
ราชาพิลาปคำ� ฉนั ท์ นนั โทปนนั ทสตู รค�ำหลวง พระมาลยั ค�ำหลวง กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท ปุณโณ-
วาทคำ� ฉนั ท์ กลบทศิรวิ ิบุลยก์ ติ ติ์
            -	 สมัยกรุงธนบุรี (พทุ ธศกั ราช ๒๓๑๑-๒๓๒๕) ลลิ ติ เพชรมงกฎุ คำ� ฉนั ทก์ ฤษณาสอนนอ้ ง
โคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี รามเกยี รติ์ (พระราชนพิ นธ์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช)
            -	 สมยั กรุงรตั นโกสินทร์ (พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕-๒๔๖๕) นริ าศรบพมา่ ทที่ า่ ดนิ แดง บทละคร
เรือ่ งรามเกยี รต์ิ ดาหลงั บทละครเร่อื งอุณรทุ ลลิ ิตศรวี ชิ ัยชาดก ลลิ ติ พยุหยาตราเพชรพวง อิเหนาค�ำฉนั ท์
กากีค�ำกลอน สมบัติอมรนิ ทรค์ �ำกลอน บทละครเร่อื งอเิ หนา บทละครเรอื่ งรามเกยี รต์ิ บทละครนอกเรอื่ ง
สงั ข์ทอง ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี ไกรทอง สงั ข์ศลิ ป์ชยั วรรณกรรมของสุนทรภู่ นริ าศเมืองแกลง นริ าศ
พระบาท นริ าศภเู ขาทอง นริ าศวัดเจ้าฟา้ โคลงนริ าศสพุ รรณ นิราศพระประธม นริ าศเมอื งเพชรบรุ ี นิราศ
อิเหนา รำ� พนั พิลาป พระอภยั มณี ลกั ษณวงศ์ สงิ หไตรภพ กาพย์พระไชยสุรยิ า บทละครเร่ืองอภัยนุราช
สวสั ดริ กั ษา เพลงยาวถวายโอวาท สภุ าษติ สอนหญงิ ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย สมทุ รโฆษคำ� ฉนั ท์ (ตอนทา้ ย) นริ าศ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25