Page 22 - การอ่านภาษาไทย
P. 22

๖-12 การอ่านภาษาไทย
            ๕) 	ภาษา เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั วรรณคดมี รดกแลว้ จะเหน็ วา่ ภาษาทใี่ ชใ้ นรอ้ ยกรองปจั จบุ นั

ด้อยคุณค่าลง กวีบางคนใช้ภาษาก้าวร้าวรุนแรง ซ่ึงเป็นลักษณะท่ี ศาสตราจารย์ ดร.สิทธา พินิจภูวดล
เรียกวา่ “วรรณกรรมดา่ ว่า”

            ๖) 	 มีการน�ำงานเขียนในลักษณะร้อยแก้ว ปราศจากข้อบังคับที่แนน่ อนเขา้ มาใชโ้ ดยเรียก
ชื่องานเขียนนั้นว่า “กลอนเปล่า” และ “วรรณรูป” ซ่ึงไม่มีคุณสมบัติของร้อยกรองตามฉันทลักษณ์ที่
บรรพชนไทยได้ประดษิ ฐ์ไวเ้ ป็นมรดกศิลปะทางภาษาของชาติ

       ๓.๓ ร้อยกรองปัจจุบันกับสังคม
            ๑)		 ร้อยกรองปัจจุบัน ออกพ้นจากราชส�ำนัก บทบาทของราชส�ำนักในการสร้างสรรค์และ

ส่งเสริมงานร้อยกรองยุติลงอย่างสิ้นเชิง แม้จะมีพระราชวงศ์ทรงเป็นกวี แต่ก็ทรงเป็นกวีเฉพาะพระองค์
มใิ ชใ่ นฐานะผอู้ ปุ ถมั ภง์ านรอ้ ยกรองของราชสำ� นกั แตร่ าชสำ� นกั ยงั มอี ทิ ธพิ ลกอ่ ใหเ้ กดิ วรรณกรรมรอ้ ยกรอง
สดดุ ี ดว้ ยความศรทั ธาและจงรกั ภักดี และในปัจจบุ ัน มกี ลมุ่ บคุ คลรวมตัวกนั เพือ่ อนรุ กั ษ์และสบื ทอดงาน
ร้อยกรอง เช่น สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย หน่วยราชการและหน่วยงานเอกชนบางแห่งยังคง
ส่งเสริมการสร้างสรรค์ร้อยกรองปัจจุบัน เช่น คุรุสภาจัดประกวดร้อยกรองวันครู บริษัทสยามพิวรรธน์
จัดประกวดรอ้ ยกรองเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดช ในหัวขอ้ น้อมเกลา้ ฯ
เจา้ แผ่นดนิ ธนาคารกรุงเทพ จำ� กัด จดั ประกวดวรรณกรรมบวั หลวง ส�ำนักวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์
กรมศิลปากร จดั ประกวดอ่านทำ� นองเสนาะ เปน็ ต้น

            ๒) 	มกี ารเผยแพรง่ านรอ้ ยกรองปจั จบุ นั ทางหนงั สอื พมิ พแ์ ละนติ ยสาร เชน่ นติ ยสารสกลุ ไทย
จดั คอลมั นส์ โมสรสมานมติ ร ควบคุมโดย กลุ ทรัพย์ รุง่ ฤดี มีวตั ถปุ ระสงคส์ ง่ เสริมผ้ทู เี่ ปน็ กวมี ีผลงานแล้ว
และผู้เริ่มงานร้อยกรองเพื่อสืบทอดงานร้อยกรองของไทย และมีการอ่านร้อยกรองทางโทรทัศน์ในโอกาส
ส�ำคญั เช่น อาเศยี รวาทเน่อื งในวันคลา้ ยวนั พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รัชการท่ี ๙

            ๓) 	มกี ารนำ� รอ้ ยกรองไปใชใ้ นอาชพี ใหมๆ่ เช่น ธุรกจิ การโฆษณา
ตัวอย่าง

            ทดลองขับวันนี้ ... ลุ้นรับทองฟรีท่ัวไทย (โฆษณารถยนต)์
            สมัครวันน้ี รับฟรีทันทีสองต่อ (โฆษณาโทรศัพท์เคลอ่ื นท่)ี
            ไปได้ไกลอย่างท่ีใจต้องการ (โฆษณาโทรศพั ท)์
            จับดาวน์รับความสุข เท่ียวสนุกทุกครอบครัว (โฆษณารถยนต)์
            เหลียวหลังแลหน้าจากรากหญ้าถึงรากแก้ว (โฆษณาการจัดงาน)
            ๔) 	มีหลักสูตรการศึกษา สอนวิธีอ่านและแต่งร้อยกรองทุกระดับการศึกษา เป็นผลให้มี
การสบื ทอดงานรอ้ ยกรองไทย
            ๕) 	มคี วามพยายามทจี่ ะอนรุ กั ษศ์ ลิ ปะการรอ้ ยกรอง อนั เปน็ มรดกสำ� คญั ของโลก ดงั นนั้ จงึ
มีการเผยแพร่งานร้อยกรองของไทยออกไปสู่ต่างประเทศ เช่น โครงการวรรณกรรมอาเซียน ซึ่งจัดแปล
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27