Page 18 - การอ่านภาษาไทย
P. 18

๖-8 การอา่ นภาษาไทย

เรื่องที่ ๖.๑.๒		
ร้อยกรองวรรณคดีมรดกและร้อยกรองปัจจุบัน

๑. ยุคสมัยของวรรณคดีไทย อาจแบ่งออกไดเ้ ป็น ๕ สมัย คอื

       ๑) 		สมัยสโุ ขทัย (ราวพทุ ธศักราช ๑๘๒๖-๑๙๒๐)
       ๒) 	สมยั อยุธยาตอนต้น (พทุ ธศักราช ๑๘๙๓-๒๑๖๓)
       ๓) 	สมยั อยธุ ยาตอนปลาย (ราวพทุ ธศกั ราช ๒๑๖๓-๒๓๑๐)
       ๔) 	สมยั ธนบรุ ี ถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (พทุ ธศกั ราช
๒๓๑๑-๒๔๖๕)
       ๕) 	สมยั ปจั จุบัน หรือร่วมสมยั (ราวพุทธศักราช ๒๔๖๕-ปจั จุบนั )

๒. ร้อยกรองวรรณคดีมรดก

       ผลงานวรรณกรรมในยุคสมัยดังกล่าว มีท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง แต่ส่วนใหญ่ในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมแต่งเป็นร้อยแก้ว งานร้อยกรองเร่ิมรุ่งเรืองเฟื่องฟูข้ึนในสมัยอยุธยา โดยเฉพาะในรัชสมัย
สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช รอ้ ยกรองเฟอ่ื งฟมู ากจนได้รับนบั ถอื ว่าเปน็ ยุคทองของวรรณคดีไทยสมัย
อยุธยา มีมรดกร้อยกรองตกทอดมาถึงปัจจุบันเป็นจ�ำนวนมาก ส่วนสมัยกรุงธนบุรี และสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์ (ระหว่างพุทธศักราช ๒๓๑๑-๒๔๖๕) งานร้อยกรองเฟื่องฟูมากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาภัย ได้รับนับถือว่าเป็น ยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ มีผลงาน
เกิดขึ้นและตกทอดมาถึงปจั จุบันจ�ำนวนมากเช่นกัน

       งานร้อยกรอง เป็นทรัพยส์ ินทางปัญญาด้านศิลปวรรณกรรม ทม่ี อี ิทธิพลและมบี ทบาทส�ำคญั ต่อ
ความเปน็ ไทย อาจกลา่ วไดว้ า่ รอ้ ยกรองเปน็ สว่ นหนง่ึ ของรากฐานแหง่ ความมน่ั คงของชาตไิ ทย จะเหน็ ได้
จากผลงานรอ้ ยกรองเปน็ เครอื่ งมอื สำ� คญั ในการดำ� รงชวี ติ ตำ� ราตา่ งๆ ลว้ นแตง่ เปน็ บทรอ้ ยกรองทง้ั สนิ้ งาน
รอ้ ยกรองทใี่ หค้ วามรแู้ ละเปน็ ตำ� รานจ้ี ดั วา่ เปน็ วรรณคดีประยุกต์ (applied literature) ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

            -	 ด้านสังคมศาสตร์ เชน่ สภุ าษติ พระร่วง โคลงสุภาษติ พาลสี อนน้อง
            - 	 ด้านพระราชพิธี เช่น ลิลิตพยหุ ยาตราเพชรพวง
            - 	 ด้านศาสนา เชน่ มหาชาตคิ ำ� หลวง เทศนม์ หาชาตเิ วสสนั ดรชาดก ธรรมาธรรมะสงคราม
มงคลสตู รค�ำฉันท์
            - 	 ด้านการแพทย์ เช่น ต�ำราโอสถพระนารายณ์
            - 	 ด้านประวัติศาสตร์ เชน่ โคลงยวนพา่ ย ลลิ ิตตะเลงพ่าย
            - 	 ด้านการศึกษา เช่น ปกีรณ�ำพจนาตถ์ นิตสิ ารสาธก
            - 	 ด้านขนบประเพณี เช่น โคลงทวาทศมาส สภุ าษิตสอนหญงิ ฯลฯ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23