Page 31 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 31

วิกฤตการณท์ างเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540 กบั การเมอื งและเศรษฐกิจไทย 12-21
กิจกรรม 12.2.2

       รฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธไดอ้ ธบิ ายถงึ การรบั ความชว่ ยเหลอื จากไอเอม็ เอฟวา่ มาจากเหตผุ ลใด
แนวตอบกิจกรรม 12.2.2

       รฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธไดอ้ ธบิ ายถงึ การรบั ความชว่ ยเหลอื จากไอเอม็ เอฟ เนอ่ื งจากตอ้ งการ
แกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจท่สี ำ� คัญ 2 ประการ คือ การปรบั โครงสร้างสถาบนั การเงิน และการลดการขาดดุล
บญั ชเี ดนิ สะพดั ซงึ่ มเี ปา้ หมายเพอ่ื ใหเ้ ศรษฐกจิ ฟน้ื ตวั อยา่ งมน่ั คงและรวดเรว็ รวมทง้ั การฟน้ื ฟคู วามเชอ่ื มน่ั
ใหค้ ืนกลบั โดยเรว็

เร่ืองท่ี 12.2.3
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจหลังรับความช่วยเหลือจากไอเอ็มเอฟ

       การดำ� เนนิ นโยบายและมาตรการของรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ ในการแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ
ทส่ี ำ� คญั สามารถสรุปได้ ดังน2ี้ 4

1.	 การแก้ไขปัญหาเสถียรภาพค่าเงินบาท

       -	 กำ� หนดใหธ้ นาคารพาณชิ ย์ ตอ้ งดำ� รงสภาพคลอ่ งเปน็ อตั ราสว่ นกบั ยอดเงนิ ฝากทธี่ นาคารแหง่
ประเทศไทยเฉลี่ยแลว้ ไมต่ ำ่� กว่ารอ้ ยละ 6 จากเดมิ ร้อยละ 7 ของยอดรวมเงนิ ฝากทกุ ประเภท

       -	 กำ� หนดใหผ้ ทู้ ไ่ี ดร้ บั เงนิ ตราตา่ งประเทศนำ� เงนิ ทไ่ี ดร้ บั เขา้ ฝากในบญั ชเี งนิ ฝากเงนิ ตราตา่ งประเทศ
ไดต้ อ่ เมอื่ มภี าระทจ่ี ะตอ้ งชำ� ระเงนิ ตราตา่ งประเทศนน้ั ใหแ้ กบ่ คุ คลในตา่ งประเทศภายในเวลาไมเ่ กนิ 3 เดอื น
นับแต่วนั ท่นี �ำเงนิ เขา้ ฝาก

       -	 กำ� หนดใหผ้ สู้ ง่ ออกนำ� รายไดจ้ ากการสง่ ออกเขา้ มาในประเทศเรว็ กวา่ ทกี่ ำ� หนดไวเ้ ดมิ จาก 180 วนั
เป็น 120 วัน นับจากวันทไ่ี ดส้ ง่ ของออก

       -	 กำ� หนดใหผ้ สู้ ง่ ออกทใี่ ชส้ นิ เชอ่ื เพอื่ การสง่ ออก (Packing Credit) จากธนาคารเพอ่ื การสง่ ออก
และน�ำเข้าแห่งประเทศไทย จะต้องขายเงินตราต่างประเทศที่จะได้ล่วงหน้า (Forward) แก่ธนาคาร
รบั อนุญาตจากเดมิ ทไี่ มไ่ ด้ก�ำหนดไว้

         24 สำ� นกั โฆษก, สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร,ี ผลงานรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ นายกรฐั มนตร,ี (กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั
เซเว่น พรน้ิ ต้งิ กรปุ๊ จ�ำกัด, 2540), 2-22.
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36