Page 26 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 26
12-16 ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
6. ภาวะเศรษฐกจิ ฟองสบจู่ ากการลงทนุ เกนิ ตวั และการเกง็ กำ� ไรในธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย์ ธรุ กจิ
อสงั หารมิ ทรัพยไ์ ดเ้ ติบโตอย่างมากในช่วงปี 2530-2539 ไม่ว่าจะเป็นท่อี ยอู่ าศยั อาคารสำ� นกั งาน สนาม
กอลฟ์ สวนเกษตร เนอื่ งจากผปู้ ระกอบการมกี ารกยู้ มื เงนิ จากตา่ งประเทศและระดมทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์
ของประเทศท่กี ำ� ลงั รอ้ นแรงได้งา่ ย เพือ่ มาลงทนุ ในโครงการอสังหารมิ ทรพั ย์ทวั่ ประเทศ นอกจากนั้นแล้ว
ราคาอสังหาริมทรัพย์ที่เพิ่มข้ึนต่อเนื่องท�ำให้เกิดความต้องการเก็งก�ำไร ซ่ึงได้ดึงดูดให้มีผู้เข้ามาลงทุนใน
ธรุ กจิ อยา่ งมากจนกลายเปน็ ภาวะเศรษฐกจิ ฟองสบู่ อนั เปน็ เศรษฐกจิ ทกี่ ารเตบิ โตและกำ� ไรเกดิ จากการปน่ั
ราคาและเก็งก�ำไรในภาคธุรกิจการเงินท่ีไม่ได้เกิดจากภาคเศรษฐกิจการผลิตจริงในระบบเศรษฐกิจก็ย่ิง
ทำ� ใหฐ้ านความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ ถกู เปา่ ใหเ้ บง่ พองเหมอื นฟองสบู่ ซง่ึ เมอ่ื ธรุ กจิ การเงนิ และสถาบนั การเงนิ
ท่ีอยูเ่ บ้ืองหลงั การเตบิ โตทรดุ ตัวลงก็จะเกิดเปน็ วกิ ฤตเศรษฐกิจอย่างยากจะหลกี เล่ียง15
ในขณะทศ่ี าสตราจารยร์ งั สรรค์ ธนะพรพนั ธ์ุ นกั เศรษฐศาสตรจ์ ากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร์ ได้วเิ คราะหถ์ ึงสาเหตุวิกฤตเศรษฐกจิ จากเหตปุ ัจจยั 5 ประเด็นดว้ ยกันคือ 1) ความออ่ นแอ
เปราะบางของระบบเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ จากการดำ� เนนิ นโยบายเปดิ เสรที างการเงนิ โดยไมไ่ ดป้ รบั โครงสรา้ งและ
ระบบควบคมุ ตรวจสอบและกำ� กบั สถาบนั การเงนิ ใหเ้ ขม้ แขง็ สอดรบั กนั 2) การฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวงและระบบ
ทนุ นยิ มพรรคพวก (Crony Capital) ระบบเศรษฐกจิ ไทยพฒั นาขน้ึ ภายใตร้ ะบบอปุ ถมั ภใ์ นการสรา้ งความ
สมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ตลอดจนการเมอื งทเ่ี รยี กวา่ ทนุ นยิ มอปุ ถมั ภใ์ ชค้ วามสมั พนั ธส์ ว่ นตวั ในการจดั สรรสนิ เชอ่ื
หรอื นโยบายทางเศรษฐกจิ มากกวา่ จะวเิ คราะหต์ ามตรรกะเหตผุ ลทางเศรษฐศาสตร์ 3) วกิ ฤตทางศลี ธรรม
(Moral Hazard) ท่ีเชื่อว่าถ้าประเทศเผชิญวิกฤตสถาบันระหว่างประเทศจะยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือไม่ให้
เกิดลุกลามไปทั่วโลกและในระดับประเทศก็มีความเช่ือมั่นว่าสถาบันการเงินล้มไม่ได้ 4) การแข่งขันกัน
ลดค่าของเงิน อันเกิดจากสาเหตุที่พยายามตรึงค่าเงินแบบตายตัวของไทยจึงถูกนักเก็งก�ำไรค่าเงินโจมตี
จนสูญเสียทุนส�ำรองไปเกือบหมดจึงจ�ำเป็นต้องลดค่าเงินด้วยการเปลี่ยนเป็นระบบลอยตัวอันไม่สามารถ
ประคองปัญหาได้จึงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจข้ึน 5) ภาวะต่ืนตระหนกทางการเงิน ที่เกิดจากความเปราะบาง
ทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเงินที่สถาบันการเงินระหว่างประเทศเริ่มถอนเงินออกจาก
ประเทศไทยเมอ่ื เหน็ สภาวการณเ์ ลวรา้ ยลง จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ การแยง่ กนั ถอนเงนิ ออกนอกประเทศ เพราะความ
ตระหนกกลวั ไมไ่ ด้เงนิ คนื กจ็ ะท�ำใหเ้ กิดวกิ ฤตการณท์ างการเงินข้นึ และลามไปสวู่ ิกฤตเศรษฐกจิ ตามมา16
เหล่านี้เป็นสาเหตุประการส�ำคัญท่ีน�ำไปสู่การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 หรือเรียกท่ัวไปใน
ประเทศไทยวา่ “วกิ ฤตตม้ ยำ� กงุ้ ” และเหตกุ ารณใ์ นครง้ั นไ้ี ดส้ ง่ ผลกระทบถงึ หลายประเทศในทวปี เอเชยี เรมิ่
ต้งั แต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ก่อให้เกดิ ความกลวั ว่าจะเกดิ การล่มสลายทางเศรษฐกิจท่วั โลก
15 สมภพ มานะรังสรรค์, “วิพากษ์เศรษฐกิจแบบฟองสบู่ในไทย”, ใน สุชีลา ตันชัยนันท์ และคณะ, ทุนนิยมฟองสบู่:
ปรชั ญาและทางออก (รวมบทความ), (กรงุ เทพฯ: สถาบันวถิ ที รรศน์, 2544), 27-44.
16 รงั สรรค์ ธนะพรพันธ,ุ์ เศรษฐกิจไทยหลังวกิ ฤตการณ์ ปี 2540, (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2545), 3-13.