Page 25 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 25

วิกฤตการณท์ างเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540 กบั การเมืองและเศรษฐกิจไทย 12-15
ประเทศไทยคิดถึงการปรับระบบอัตราแลกเปลี่ยน แต่ธนาคารแห่งประเทศไทยก็มิได้ท�ำตาม แต่ต่อให้
ธนาคารแห่งประเทศไทยยอมปรบั ระบบ ณ จดุ นีก้ ค็ งเป็นการยากที่จะหลีกเล่ียงภาวะวิกฤตไดแ้ ล้ว เพราะ
เงนิ ทนุ จำ� นวนมหาศาลทไ่ี หลเขา้ ไทยในระยะเวลาเกนิ สบิ ปี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภายหลงั การจดั ตง้ั วเิ ทศธนกจิ
ไดท้ ำ� ความเสยี หายใหแ้ กเ่ ศรษฐกจิ ในรปู ของธรุ กจิ ฟองสบจู่ นยากแกก่ ารเยยี วยาอยา่ งออ่ นๆ ผา่ นการปรบั
ระบบอัตราแลกเปลีย่ นเท่าน้นั แต่กเ็ ป็นทแ่ี นน่ อนวา่ หากเวลานนั้ ธนาคารแห่งประเทศไทยยอมปรับระบบ
โดยไม่ดื้อดึงต่อสู้ป้องกันค่าเงินบาทจนกระท่ังเงินส�ำรองระหว่างประเทศเกือบหมดไปในปลายเดือน
มิถุนายน 2540 แล้ว วิกฤตเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนก็คงจะไม่หนักหนาเท่าที่เกิดขึ้นจริง ดังน้ัน จึงสรุปได้ว่า
จดุ เปลยี่ นครัง้ สำ� คญั ของเศรษฐกจิ ไทยเกิดขึน้ เมอ่ื มีการอนญุ าตใหจ้ ดั ต้งั กจิ การวเิ ทศธนกจิ 13

       2.	 นโยบายของธนาคารแหง่ ประเทศไทยทมี่ จี ดุ ยนื มงุ่ มน่ั รกั ษานโยบายแลกเปลยี่ นระบบตะกรา้ เงนิ
โดยเฉพาะในช่วงทเ่ี กิดการโจมตคี า่ เงนิ บาทในช่วงเดือน กรกฎาคม 2539 ถงึ กรกฎาคม 2540 ทีธ่ นาคาร
แห่งประเทศไทยขาดความรอบคอบในการด�ำเนินการปกป้องค่าเงินบาท จนท�ำให้ประเทศสูญเสีย
เงนิ ทนุ สำ� รองระหวา่ งประเทศเปน็ จำ� นวนมาก จนเกดิ ความไมเ่ ชอื่ มนั่ ตอ่ เศรษฐกจิ ไทยและกอ่ ใหเ้ กดิ วกิ ฤต
เศรษฐกิจตามมาในทสี่ ดุ

       3.	 การไม่ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการจ�ำกัด อย่างเด็ดขาด ท่ถี อื
เปน็ กรณสี ำ� คญั ของความดอ้ ยประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ ตรวจสอบระบบสถาบนั การเงนิ ของธนาคารแหง่ -
ประเทศไทย (ธปท.) ส่งผลให้เกิดความเสียหายขยายตัวเพ่ิมขึ้น และความล้มเหลวของกรณีดังกล่าว
กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ภาพพจนแ์ ละความนา่ เชอ่ื ถอื ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย และความเชอ่ื มนั่ ในระบบ
สถาบันการเงิน ซึง่ มีผลตอ่ ความมั่นคงทางการเงนิ โดยรวมของประเทศ

       4.	 การบริหารจัดการกองทุนเพ่ือการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินของธนาคารแห่ง
ประเทศไทย (ธปท.) ผิดไปจากเจตนารมณ์ของกฎหมายท่ีก่อตั้ง เน่ืองจากการด�ำเนินการไม่แยกแยะ
ระหวา่ งปัญหาสภาพคลอ่ งและปัญหาฐานะการดำ� เนนิ งานของสถาบันการเงิน กองทนุ ละเลยหนา้ ทใ่ี นการ
ฟื้นฟูกิจการ ด้วยการเพิ่มทุนให้เพียงพอและไม่เผชิญปัญหาหนี้เสียอย่างตรงไปตรงมา อีกทั้งไม่มีการ
ติดตามดแู ลการด�ำเนนิ การหลังการใหก้ ้เู งินในฐานะที่เป็นเจา้ หนีร้ ายใหญอ่ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพียงพอ

       5.	 การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัดคือสามารถในการใช้จ่ายของประเทศท่ีมีการ
รับเข้าและจ่ายออกถ้าจ่ายออกมากรับเข้ามาน้อยจะท�ำให้ขาดดุลและขาดเงินใช้จ่ายภายในประเทศ ซึ่งใน
ช่วงทเ่ี ศรษฐกจิ ของไทยเติบโตมาอย่างตอ่ เนอื่ งดลุ บญั ชีเดนิ สะพดั ของไทยก็มกี ารขาดดลุ มาตง้ั แต่ปี 2530
และเพม่ิ สงู ขน้ึ ตอ่ เนอ่ื งจากการใชจ้ า่ ยซอ้ื สนิ คา้ ฟมุ่ เฟอื ยจากตา่ งประเทศ การใชเ้ งนิ ไปทอ่ งเทยี่ วตา่ งประเทศ
ในช่วงเศรษฐกิจเติบโตแบบฟองสบู่และรายได้จากการส่งสินค้าออกลดลง จนกระท่ังในปี 2538-2539
ประเทศไทยตอ้ งประสบปญั หาการขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั เพม่ิ สงู ขน้ึ ถงึ รอ้ ยละ 8.5 เพมิ่ จากปี 2537 ซง่ึ อยู่
ทีร่ อ้ ยละ 7.514

         13 อภชิ าต สถติ นริ ามยั , รฐั ไทยกบั การปฏริ ปู เศรษฐกจิ : จากก�ำเนดิ ทนุ นยิ มนายธนาคารถงึ วกิ ฤตเศรษฐกจิ 2540, (นนทบรุ :ี
ฟ้าเดยี วกัน. 2556), 196-197.

         14 พชิ ติ ลขิ ติ กจิ สมบรู ณ,์ “วกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทย: โครงสรา้ งและการเปลย่ี นแปลง”. ใน สชุ ลี า ตนั ชยั นนั ท์ และคณะ, ทนุ นยิ ม
ฟองสบู:่ ปรชั ญาและทางออก (รวมบทความ), (กรงุ เทพฯ: สถาบนั วถิ ที รรศน.์ 2544), 9.
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30