Page 24 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 24

12-14 ประวัตศิ าสตรก์ ารเมอื งและเศรษฐกิจไทย

เร่ืองท่ี 12.2.1
สาเหตุของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2540

       การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 นั้นเกิดจากหลายสาเหตุท้ังเล็กทั้งใหญ่ท่ีประสานกันจนเกิด
การล่มสลายทางเศรษฐกิจขึ้น โดยมีข้อเสนอจากนักวิชาการทางด้านเศรษฐศาสตร์และผู้รับผิดชอบในรูป
คณะกรรมการทร่ี ฐั บาลตง้ั ขนึ้ เพอื่ หาสาเหตแุ ละวธิ กี ารปอ้ งกนั ปญั หาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตหลายความเหน็
ท่ีสามารถจะสรุปได้ ดงั น้ี

       โดยประเดน็ สำ� คญั จากรายงานคณะกรรมการศกึ ษาและเสนอแนะมาตรการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการ
บริหารจดั การระบบการเงนิ ของประเทศ (ศปร.) ท่ไี ด้รบั มอบหมายใหค้ ้นหาสาเหตุแห่งวกิ ฤตโดยตรงสรุป
วา่ “วกิ ฤตการณเ์ ศรษฐกจิ ไทยในครง้ั นม้ี จี ดุ เรม่ิ ตน้ มาจากการกอ่ หนข้ี องภาคเอกชน แตก่ ารดำ� เนนิ นโยบาย
การเงนิ ของรฐั กม็ สี ว่ นทำ� ใหป้ ญั หาการกอ่ หนบ้ี านปลายอยา่ งไมม่ ขี ดี จำ� กดั ซงึ่ ปญั หาการบรกิ ารจดั การระบบ
การเงนิ ของประเทศทสี่ ำ� คญั 6 ประการคอื 12

       1.	 ความไม่มีประสิทธิภาพในการด�ำเนินนโยบายการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ในฐานะผู้ควบคุมดูแลระบบการเงินของประเทศ ในทศวรรษ 2530 ที่เหล่าแทคโนแครตล้วนถือนโยบาย
อนรุ กั ษนยิ มทางการเงนิ ในการดำ� เนนิ นโยบายไมเ่ ทา่ ทนั ตอ่ ความเปลยี่ นแปลงของทนุ นยิ มเสรโี ลก โดยเฉพาะ
กรณเี ปิดตลาดเงินทนุ เสรีแต่ยังคงยึดมัน่ ในระบบอัตราแลกเปล่ียนคงท่แี บบตะกรา้ เงิน

       นบั จากปี 2536 เปน็ ตน้ มา ความผดิ พลาดทางนโยบายของแผนการเปดิ เสรที สี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื ความ
ขัดแย้งระหว่างการอนุญาตให้เงินทุนเคล่ือนย้ายได้อย่างเสรี กับการคงไว้ซ่ึงระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ
คงท่ีอนั เปน็ ปจั จยั กระตุ้นให้การน�ำเขา้ เงินก้จู ำ� นวนมหาศาล ไดก้ ่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ระบบเศรษฐกจิ
ในระดบั ทยี่ ากจะหลกี เล่ียงภาวะวกิ ฤตเศรษฐกจิ 2540 ไดแ้ ลว้ แมว้ ่าไทยจะใชร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ยี นแบบ
ตะกร้ามาตั้งแต่ปี 2527 แต่เนื่องจากน�้ำหนักของเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาสูงกว่าเงินตราสกุลอ่ืนๆ มาก
จนทำ� ใหอ้ ตั ราแลกเปลย่ี นระหวา่ งเงนิ บาทกบั เงนิ ดอลลารม์ กี ารเปลย่ี นแปลงนอ้ ยมาก เสถยี รภาพทสี่ งู ของ
อตั ราแลกเปลย่ี นระหวา่ งเงินบาทกบั ดอลลารน์ ี้เองทที่ ำ� ให้ผู้ตอ้ งการกู้เงินจากต่างประเทศรู้สึกวา่ ตนเกือบ
จะไมม่ คี วามเสยี่ งจากการทเ่ี งนิ บาทจะลดคา่ ลงเมอื่ เทยี บกบั เงนิ ดอลลารเ์ ลย ประกอบกบั อตั ราดอกเบยี้ ของ
เงนิ ดอลลารใ์ นตา่ งประเทศตำ�่ กวา่ อตั ราดอกเบย้ี ของเงนิ บาทมาก ดงั นนั้ เมอ่ื มกี ารจดั ตงั้ วเิ ทศธนกจิ ขนึ้ แลว้
ความนยิ มในการกเู้ งนิ ระยะสนั้ จากตา่ งประเทศโดยไมท่ ำ� ประกนั ความเสยี่ งจงึ สงู มาก และผใู้ หญข่ องธนาคาร
แหง่ ประเทศไทยไมเ่ คยมคี วามคดิ ทจ่ี ะปรบั ระบบอตั ราแลกเปลยี่ นใหเ้ ปน็ แบบลอยตวั แมแ้ ตน่ อ้ ย จนกระทง่ั
ปลายปี 2539 เมื่อไทยถูกโจมตีค่าเงินบาทเป็นครั้งแรกที่ปลัดกระทรวงการคลังกระตุ้นให้ธนาคารแห่ง

         12 คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการจัดการระบบการเงินของประเทศ (ศปร.).
รายงานผลการวเิ คราะห์และวินิจฉยั ข้อเทจ็ จรงิ เกี่ยวกบั สถานการณ์วกิ ฤตทางเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพเ์ จได, 2542), 5-9.
คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ระบบการเงินของประเทศเพ่ือเป็นการป้องกัน
การเกิดวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ (ศสปป.), วบิ ากกรรมเศรษฐกิจ 2540 บทเรยี นจาก ศปร.1. (กรงุ เทพฯ: ศสปป., 2545), 15-16.
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29