Page 34 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 34
12-24 ประวัติศาสตรก์ ารเมอื งและเศรษฐกจิ ไทย
- การจดั หาแหล่งวัตถดุ ิบเพ่อื ลดต้นทุนการผลิต
- การผลกั ดนั การใชน้ โยบายการค้าตา่ งตอบแทน
- การประชุมรฐั มนตรีเศรษฐกิจเอเชีย-ยุโรป (ASEM- EMM)
- การแกป้ ัญหาการกีดกนั สินค้าไทย
- การศึกษาวิเคราะห์การส่งออก การน�ำเข้าและดุลการค้า
- การปรับปรุงคา่ ภาระเรือเข้าทา่ (Port Dues) ของทา่ เรอื แหลมฉบัง
- การส่งเสรมิ ทา่ เรอื แหลมฉบงั เป็นท่าเรอื ตสู้ นิ คา้ ถ่ายล�ำ (Transhipment)
- การยกเลิกการต่อสัญญาการขนส่งสินค้าในท่าเรือกรุงเทพขององค์การรับส่งสินค้าและ
พัสดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.)
- การด�ำเนินการเจรจาทางเศรษฐกจิ ทง้ั ในระดบั โลกและระดบั ภมู ิภาค
8. การแก้ไขปัญหาอสังหาริมทรัพย์
รฐั บาลด�ำเนินการแกไ้ ขโดยการใหจ้ ดั ต้งั องคก์ ารบรหิ ารสนิ เชอื่ อสงั หารมิ ทรัพย์ (อบส.) เพื่อช่วย
แก้ไขปัญหาสภาพคลอ่ งใหแ้ ก่สถาบันการเงนิ ทใ่ี หส้ ินเช่ือแกธ่ รุ กจิ อสังหารมิ ทรพั ย์ โดยมีทนุ ด�ำเนินงานมา
จาก 3 แหลง่ คือทุนประเดิมจากงบประมาณของรฐั 1 ลา้ นบาท เงนิ สมทบจากสถาบันการเงนิ ทเ่ี ข้ารว่ ม
ในโครงการของ อบส. สถาบันละ 1 ลา้ นบาท และการออกพันธบตั ร อบส. ประเภท Zero coupon โดย
มกี ระทรวงการคลังค�้ำประกนั เปน็ เวลา 7 ปี
เหลา่ นเี้ ปน็ การดำ� เนนิ นโยบายและมาตรการของรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธในการแกไ้ ขปญั หา
เศรษฐกิจหลังจากท่ีประเทศไทยได้มีการยอมรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ แต่
ดูเหมอื นการด�ำเนินนโยบายและมาตรการเหล่านอี้ าจไมไ่ ดน้ ำ� มาซงึ่ การแกป้ ัญหาได้เทา่ ทีค่ วร
กิจกรรม 12.2.3
ยกตวั อยา่ งการดำ� เนนิ นโยบายและมาตรการของรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธในการแกไ้ ขปญั หา
เศรษฐกจิ ในเรือ่ งการแก้ไขปัญหาสถาบนั การเงินและสภาพคลอ่ งทางการเงิน
แนวตอบกิจกรรม 12.2.3
ตัวอย่างการด�ำเนินนโยบายและมาตรการของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธในการแก้ไขปัญหา
เศรษฐกจิ ในดา้ นการแก้ไขปัญหาสถาบนั การเงนิ และสภาพคลอ่ งทางการเงนิ มดี งั น้ี
- การแยกสถาบันการเงินทมี่ ีปญั หาออกจากสถาบันการเงนิ ที่ยังมน่ั คงอยู่
- การสรา้ งความเชอื่ ม่ันใหก้ บั สถาบนั การเงนิ ท่เี หลืออยู่
- การเร่งรัดด�ำเนินการตามแผนการพัฒนาสถาบันการเงินเพื่อฟื้นฟูสถาบันการเงินและสร้าง
ประสทิ ธภิ าพในการด�ำเนนิ งานและการแสวงหารายได้ ตลอดจนเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงใหก้ บั ระบบการเงนิ
- เนน้ ความโปร่งใสในการบริหารของสถาบันการเงนิ