Page 57 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 57

ภมู ิทัศน์วฒั นธรรมกบั การทอ่ งเท่ียว 14-47

ความน�ำ

       กรณีศึกษาเก่ียวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับการท่องเท่ียวในบริบทของประเทศไทย ถึงแม้ว่าใน
ประเทศไทยจะยังไม่มีมรดกโลกท่ีเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรม แต่ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทาง
วัฒนธรรมแล้ว ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง (ข้ึนทะเบียนใน ค.ศ. 1992) เมืองประวัติศาสตร์
พระนครศรีอยุธยา และเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย (และเมืองบริวาร) (ทั้งสองแห่งขึ้นทะเบียนใน ค.ศ.
1991) ส�ำหรับในส่วนของมรดกโลกทางธรรมชาติ ได้แก่ พื้นท่ีป่าเทือกเขาดงพญาเย็น-เขาใหญ่ (ขึ้น
ทะเบียนใน ค.ศ. 2005) และเขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ-่ หว้ ยขาแขง้ (ขนึ้ ทะเบยี นใน ค.ศ. 1991)12 แต่
ในท่ีนี้ผู้เขียนจะนำ� เอาแนวคิดเกีย่ วกับภมู ทิ ัศนว์ ฒั นธรรมตามทีก่ ลา่ วมาแลว้ ในตอนท่ี 1 มาอธบิ ายในกรณี
ศึกษาต่างๆ ในบริบทของประเทศไทย โดยให้ความส�ำคัญกับค�ำอธิบายทีไ่ ม่ไดเ้ น้นการประเมินคณุ ค่าใน
บริบทของการจัดการมรดกโลก หากแต่จะชใ้ี ห้เห็นว่า ภูมทิ ศั นว์ ฒั นธรรมที่เกิดจากความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
มนุษย์กับสิ่งที่อยู่รอบตัวน้ัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการปรับตัวเพ่ือให้เข้ากับเง่ือนไขของสภาพแวดล้อม
ในถ่ินท่ีอยู่ไปจนถึงการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมต่างๆ ขึ้น เพื่อให้เอ้ือต่อการด�ำเนินวิถีชีวิตทั้งท่ีเป็นไป
เพอื่ การตอบสนองความตอ้ งการขนั้ พนื้ ฐานและความตอ้ งการดา้ นอนื่ ๆ ทมี่ นษุ ยม์ อี ยา่ งไมส่ น้ิ สดุ วา่ สงิ่ เหลา่ นี้
ได้ถูกนำ� ไปประยุกตใ์ ช้ในบรบิ ทของการทอ่ งเทีย่ วอย่างไร โดยเลอื กมา 3 ประเด็นดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ 1) วิถี
ผู้คนกบั ความรูส้ กึ แหง่ สถานท่ี 2) แหล่งทอ่ งเที่ยวทส่ี รา้ งขนึ้ เพอ่ื การทอ่ งเที่ยว และ 3) การปรบั ภมู ทิ ัศน์
เพื่อดึงดูดนกั ทอ่ งเท่ียวตา่ งชาติ

       ในสว่ นทกี่ ลา่ วถงึ วถิ ผี คู้ นกบั ความรสู้ กึ แหง่ สถานทน่ี นั้ จะใหค้ วามสำ� คญั กบั ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมทใ่ี น
ลกั ษณะทส่ี ภาพแวดลอ้ มรอบตวั ซงึ่ สง่ ผลตอ่ มนษุ ย์ ไปจนถงึ การดำ� เนนิ กจิ กรรมของมนษุ ยท์ เ่ี ปน็ ไปเพอ่ื การ
ปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ ม สรา้ งสรรคส์ ภาพแวดลอ้ มในรปู แบบตา่ งๆ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การดำ� เนนิ วถิ ชี วี ติ ของตน
ทงั้ ทป่ี รากฏในรปู แบบทเี่ ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ คอื ความรสู้ กึ ของทงั้ ผอู้ ยแู่ ละผมู้ าเยอื น
ท่มี ีตอ่ พืน้ ทน่ี ้นั ๆ ในสว่ นท่ีกลา่ วถึง สิง่ ทีส่ รา้ งเพ่อื การท่องเท่ียว จะกล่าวถึงการท่ีมนุษยไ์ ด้สรา้ งสรรคพ์ ้นื
ที่ใหม่ๆ ขึ้นมา เพือ่ สนองความต้องการของผู้คนในช่วงเวลาน้นั ๆ โดยจะนำ� เอาปรากฏการณ์โหยหาอดตี
(Nostalgia) มาเปน็ ประเดน็ หลกั ในการอธบิ าย และในสว่ นสดุ ทา้ ยเปน็ ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว
ต่างชาติ ในส่วนนี้จะกล่าวถึงกลุ่มนักท่องเท่ียวชาวจีนเป็นหลัก ซ่ึงถือเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ีเข้ามา
ท่องเที่ยวในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมากในบริบทร่วมสมัย การปรับตัวของผู้ประกอบการไทยให้เข้ากับ
ความนิยมของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการสร้างภูมิทัศน์วัฒนธรรมในรูปแบบใหม่ขึ้นในสังคม
ไทย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

12 ดรู ายละเอียดเพ่มิ เตมิ ใน https://whc.unesco.org
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62