Page 60 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 60
14-50 วัฒนธรรมกบั การทอ่ งเที่ยว
ในบริบทพ้ืนที่ตามท่ีได้กล่าวมาแล้วในข้างต้นน้ี หากมีผู้คนเข้าไปเก่ียวข้องในลักษณะที่เป็นไป
เพ่อื การใช้พื้นที่ในการต้ังถ่นิ ฐานแลว้ คนสว่ นใหญ่กจ็ ะตอ้ งคิดถงึ หมู่บา้ นชาวประมง คิดถงึ พ้ืนทใี่ นภาคใต้
และภาคตะวนั ออกกอ่ นที่จะคิดถงึ ภาคกลางเสียอกี เป็นทน่ี า่ สนใจวา่ หมู่บา้ นชาวประมงในแต่ละพ้นื ท่ีกจ็ ะ
มบี รบิ ทพเิ ศษเฉพาะซงึ่ เปน็ ไปตามสภาพแวดลอ้ มในพนื้ ทน่ี นั้ ๆ โดยจะเหน็ ไดว้ า่ หมบู่ า้ นชาวประมงในบาง
พน้ื ทกี่ จ็ ะตงั้ อยทู่ า่ มกลางปา่ ชายเลนซงึ่ มที างนำ้� ออกสทู่ ะเล ในทนี่ ข้ี อยกตวั อยา่ ง ชมุ ชนแหลมกลดั อำ� เภอ
เมอื ง จงั หวดั ตราด เปน็ หนง่ึ ในชมุ ชนทอ่ี ยใู่ น 13 พนื้ ทพี่ เิ ศษ ทมี่ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วอยา่ ง
ยงั่ ยนื ขององค์การบริหารการพัฒนาพื้นทพี่ เิ ศษเพ่ือการท่องเทยี่ วอย่างยัง่ ยนื (อพท.)
ชมุ ชนแหลมกลดั อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ตราด เปน็ หมบู่ า้ นชาวประมงทอ่ี ยตู่ ดิ ชายแดนประเทศไทย
กบั กมั พชู า มลี กั ษณะเปน็ แหลมยนื่ ออกมานอกทะเลฝง่ั อา่ วไทย มปี า่ ชายเลนทส่ี มบรู ณ์ และมหี ง่ิ หอ้ ยเปน็
จำ� นวนมาก ทง้ั ยงั มพี น้ื ทท่ี างทศิ ตะวนั ตกและตะวนั ออกตดิ กบั เทอื กเขาบรรทดั ทอดยาวไปจนสดุ ชายแดน
จากการท่ีมีพื้นที่ติดกับทะเลและภูเขา ท�ำให้หมู่บ้านชาวประมงแห่งนี้มีทรัพยากรที่หลากหลาย ชาว
บา้ นแหลมกลดั ยงั คงยดึ อาชพี ในภาคการประมง โดยไดเ้ ปดิ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในวถิ ชี มุ ชน
เหน็ ไดจ้ ากการใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วออกเรอื หาปลา ตกปลา และลงมอื ลากอวนดว้ ยตนเอง ในชมุ ชนยงั มปี ระเพณี
การงมหอยขาวท่ีจะจัดขึ้นในวันที่ 1 และ 2 พฤษภาคมของทุกปี (องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เพ่อื การพฒั นาท่องเท่ยี วอย่างยั่งยนื (องค์การมหาชน), ม.ป.ป.)
กล่าวโดยสรุป จากตัวอยา่ งวถิ ีชวี ิตรมิ น้�ำ และวิถชี ายฝัง่ ทะเลในข้างตน้ นี้ (ในทน่ี นี้ ักศกึ ษาอาจน�ำ
เอาแนวคิดนี้ไปใช้ในการพิจารณาวิถีชีวิตในรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีไม่ได้น�ำเสนอ ณ ที่น้ี) ได้แสดงให้เห็นว่าวิถี
การดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นในบรบิ ทแวดลอ้ มของถน่ิ ทอ่ี ยเู่ ปน็ ความโดดเดน่ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของสถานท่ี
นนั้ ๆ ทนี่ อกจากจะมผี ลตอ่ ความรสู้ กึ ของคนในพนื้ ซง่ึ ทมี่ คี วามผกู พนั กบั ถน่ิ ทอ่ี ยู่ หากแตอ่ งคป์ ระกอบตา่ งๆ
ทั้งในทางกายภาพและไม่ใช่กายภาพของพื้นที่ยังส่งผลต่อความรู้สึกของผู้มาเยือนด้วยเช่นเดียวกัน เป็น
ความรสู้ กึ แหง่ สถานทซ่ี ง่ึ เปน็ สงิ่ ทจ่ี ะสรา้ งความประทบั ใจใหแ้ กผ่ มู้ าเยอื น อนั จะนำ� ไปสกู่ ารใชพ้ นื้ ทเี่ พอื่ สรา้ ง
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจผ่านกิจกรรมการท่องเท่ียวที่สร้างรายได้ให้แก่คนในพ้ืนท่ีและภาคส่วนอ่ืนๆ ที่
เกี่ยวข้อง ในบริบทร่วมสมัยนั้นส่ือสังคมออนไลน์ต่างๆ เป็นช่องทางส�ำคัญท่ีส่งผลต่อการสร้างความรู้สึก
แหง่ สถานทจี่ ากการเสพขอ้ มูลข่าวสาร ท้ังท่ีอยู่ในรปู แบบของภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ขอ้ ความ ฯลฯ
ควรกลา่ วดว้ ยวา่ ในบรบิ ทของการจดั การทอ่ งเทยี่ วทไี่ ดน้ ำ� เอาวถิ ผี คู้ นกบั สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ไป
ใชส้ ร้างมลู คา่ เพ่ิมในทางเศรษฐกิจนัน้ นอกเหนอื จากข้อกังวลเร่อื งความเส่ือมโทรมของทรัพยากรแล้ว สิ่ง
ที่ไม่สามารถมองข้ามไปได้คือ การที่ในปัจจุบันทั่วโลกก�ำลังเผชิญกับปัญหาการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ
(Climate Change) ดงั กลา่ วนยี้ อ่ มสง่ ผลทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ดำ� เนนิ
วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นอยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ ในบรบิ ทของประเทศไทยนนั้ ใน ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553) ประเทศไทย
ต้องประสบปัญหาจากความแห้งแล้งซึ่งร้ายแรงท่ีสุดในรอบ 20 ปี เห็นได้จากการลดลงของระดับน�้ำใน
แมน่ ำ�้ โขงทล่ี ดระดบั ลงถงึ จดุ ตำ่� สดุ ในรอบ 50 ปี ในขณะทโ่ี ครงการพฒั นาในแมน่ ำ้� โขงในกรณขี องการสรา้ ง
เข่ือนก็ยังคงด�ำเนินอยู่อย่างต่อเน่ือง (Marks, Danny, 2011, pp. 229-230) ดังกล่าวน้ีเป็นผลท�ำให้
ทรพั ยากรและผคู้ นในบรเิ วณดงั กลา่ วกำ� ลงั อยใู่ นภาวะวกิ ฤต นอกจากปญั หาความแหง้ แลง้ แลว้ สภาวะของ
การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศยังสง่ ผลทำ� ให้เกิดนำ้� ท่วม เกิดลมพายุ ท่กี ่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่ทรัพยากร