Page 58 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 58

14-48 วฒั นธรรมกบั การทอ่ งเที่ยว

เรื่องท่ี 14.3.1
วิถีผู้คนกับการสร้างความรู้สึกแห่งสถานท่ี

       การให้คำ� จ�ำกัดความกบั “ความรู้สกึ แหง่ สถานที”่ (Sense of Place) น้ันมีอยู่อย่างหลากหลาย
ในที่นข้ี อยกตวั อยา่ งจากมุมมองทางดา้ นมานุษยวทิ ยา โดยอา้ งองิ จาก เซธา เอ็ม. โลว์ (Setha M. Low)
ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายวา่ เปน็ สญั ลกั ษณท์ ผ่ี กู ตดิ ไวก้ บั สถานที่ การผกู ตดิ กบั สถานทด่ี ว้ ยความสมั พนั ธใ์ นเชงิ สญั ลกั ษณ์
ที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มคนท่ีมีวัฒนธรรมร่วมกัน มีการแสดงออกทางด้านอารมณ์ความรู้สึกต่อสถานท่ีเฉพาะ
ซ่ึงเป็นพื้นฐานให้แก่ปัจเจกบุคคลและกลุ่มคนในการท�ำความเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบตัว ดังน้ันแล้วสิ่งท่ี
ผกู ตดิ ไวก้ บั สถานทจี่ งึ มากกวา่ อารมณค์ วามรสู้ กึ และประสบการณข์ องการรบั รู้ โดยหมายรวมเอาความเชอ่ื
และการปฏิบัติการที่เช่ือมโยงผู้คนเข้าไว้กับสถานที่เข้าไว้ด้วย ส�ำหรับในมุมมองทางด้านสังคมวิทยาน้ัน
จะเหน็ ได้ว่า เดวิด มาร์ก ฮัมมอน (David M. Hummon) ได้อธิบายไว้วา่ เป็นมุมมองของผู้คนท่ีมีตอ่
สภาพแวดลอ้ ม ความรสู้ กึ แห่งสถานที่เปน็ สง่ิ ที่ไมส่ ามารถหลีกเลีย่ งไดโ้ ดยธรรมชาติ ดงั กลา่ วนีห้ มายรวม
ถึงมุมมองเก่ียวกับการตีความสภาพแวดล้อมและการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกต่อสภาพแวดล้อม
นอกจากนแี้ ลว้ ความรสู้ กึ แหง่ สถานทย่ี งั รวมถงึ การรบั รขู้ องบคุ คลเกย่ี วกบั สถานทด่ี ว้ ย ซง่ึ เปน็ การแสดงให้
เห็นถึงความเข้าใจพื้นท่ี ซึ่งความเข้าใจและความรู้สึกเก่ียวกับสถานท่ีนี้จะถูกหลอมรวมในบริบทของการ
ใหค้ วามหมายกับสภาพแวดล้อมท่อี ยรู่ อบตัว (Cross, Jennifer E. (2001))

       แนวคดิ เกยี่ วกบั ความรสู้ กึ แหง่ สถานทน่ี มี้ คี วามเกยี่ วโยงในประเดน็ ทางดา้ นจติ วทิ ยาและทางดา้ น
จติ วิญญาณ ในท่นี ้ีผู้คน ภูมิประเทศ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ ล้วนแล้วแตม่ ีบทบาทส�ำคญั ต่อการ
เกิดข้ึนของความรู้สึกแห่งสถานที่ โดยจะส่งผลทางด้านจิตวิทยา และการแสดงออกทางพฤติกรรมของ
มนษุ ย์ อกี ทง้ั สถานทยี่ งั ไดก้ ลายเปน็ ตวั แทนของความเชอ่ื ความทรงจำ�  เหน็ ไดจ้ ากความรสู้ กึ ทม่ี ตี อ่ สถานท่ี
ซึ่งเรียกว่าบ้าน โดยองค์ประกอบของภูมิทัศน์ในแต่ละส่วนมีส่วนส�ำคัญในการสร้างความรู้สึกน้ี (Nik
Mastura Nik Mohammad and others, 2013, pp. 507-508)

       แนวความคิดเก่ียวกับความรู้สึกแห่งสถานที่น้ีได้มีการน�ำไปใช้กันอย่างแพร่หลาย เห็นได้จากใน
แวดวงของการกำ� หนดนโยบาย โดยมเี ปา้ หมายทเี่ ปน็ ไปเพอื่ การวางแผนและฟน้ื ฟสู ถานที่ อกี ทงั้ ยงั มคี วาม
แพร่หลายในแวดวงด้านการท่องเท่ียวท่ีพยายามจะน�ำเสนอความโดดเด่นของสถานท่ีเพื่อดึงดูดนักท่อง
เทีย่ ว เพ่ือใหเ้ กดิ ความประทับใจต่อสถานท่ีนน้ั ๆ (Kolodziejski, Ann L., 2014, p. 27) ขณะเดยี วกนั
ความรสู้ กึ แหง่ สถานทข่ี องมนษุ ยน์ น้ั กไ็ มไ่ ดม้ เี ฉพาะในแงบ่ วกเทา่ นนั้ ดงั กลา่ วนเ้ี มอ่ื นำ� มาพจิ ารณากบั บรบิ ท
ของการจัดการท่องเที่ยวในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่สะท้อนวิถีการด�ำเนินชีวิตของ
ผคู้ นทเี่ ปน็ ไปตามสภาพแวดลอ้ มของถนิ่ ทอี่ ยนู่ นั้ ไดก้ ลายมาเปน็ ทรพั ยากรในการทอ่ งเทยี่ วทสี่ ำ� คญั เหน็ ได้
จากการทภ่ี ูมทิ ศั นว์ ฒั นธรรมเหล่าน้ีไดก้ ลายเปน็ สนิ ค้าท่องเทยี่ ว ภายใต้แคมเปญอะเมซิง่ ไทยแลนด์ ตาม
ที่ได้ให้ข้อมูลไปแล้วในเร่ืองก่อนหน้าน้ี ในที่นี้ผู้เขียนจะยกตัวอย่างวิถีผู้คนใน 2 รูปแบบด้วยกัน ได้แก่
วิถีริมน�้ำ และวถิ ีชายฝั่งทะเล
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63