Page 59 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 59
ภมู ิทศั น์วัฒนธรรมกบั การท่องเทยี่ ว 14-49
ความรู้สึกแห่งสถานที่กับวิถีริมน�้ำ
พน้ื ทรี่ มิ แมน่ ำ�้ นเ้ี ปน็ บรเิ วณทซ่ี ง่ึ ในอดตี มผี คู้ นตงั้ ถนิ่ ฐานอยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ซง่ึ นอกจากนำ้� ในแมน่ ำ�้
จะชว่ ยหล่อเลย้ี งชวี ติ สายนำ้� ยงั พาดนิ ตะกอนทพี่ ดั พามาตลอดเสน้ ทางน�ำ้ มาทบั ถมในพน้ื ทร่ี าบ ท�ำใหด้ ิน
มคี วามอดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู ในอดตี เสน้ ทางนำ้� ยงั เปน็ เสน้ ทางคมนาคมทม่ี คี วามสำ� คญั เปน็
ช่องทางในการติดต่อ คา้ ขาย แลกเปล่ยี นกบั ชมุ ชนอนื่ ๆ ทอี่ ยู่ไกลออกไป ไปจนถงึ คนตา่ งชาตติ ่างภาษา
ด้วย เมื่อพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยแล้วท�ำให้เห็นว่าพ้ืนท่ีในแต่ละภูมิภาคของ
ประเทศนนั้ ลว้ นแลว้ แตม่ แี มน่ ำ�้ สายสำ� คญั ไหลผา่ น เปรยี บเสมอื นเสน้ เลอื ดทห่ี ลอ่ เลย้ี งผคู้ นมาตงั้ แตใ่ นอดตี
ท้ังยังเป็นทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีได้รับความนิยมอีกด้วย เห็นได้จากข้อมูลท่ีว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษท่ี
1950 การทอ่ งเทยี่ วทางเรอื ตามเสน้ ทางแมน่ �้ำและคลองตา่ งๆ โดยใชเ้ รอื หางยาว ซง่ึ เปน็ เสน้ ทางรอบเกาะ
รัตนโกสินทร์ เพอ่ื ชมทัศนียภาพพระบรมมหาราชวัง ศาสนสถานตา่ งๆ มีการหยุดพักตลาดน้�ำวัดไทร ท่ี
มเี หลา่ แมค่ า้ พอ่ คา้ พายเรอื สำ� ปน้ั มาขายผลไมส้ ดจากสวน การทอ่ งเทย่ี วในแบบดงั กลา่ วนเี้ ปน็ ทนี่ ยิ มในหมู่
นักท่องเทีย่ วตา่ งชาติเป็นอยา่ งมาก ถอื เป็นประสบการณแ์ ปลกใหมน่ อกเหนือไปจากแหล่งทอ่ งเทีย่ วท่อี ยู่
ใจกลางเมอื งของกรงุ เทพมหานคร (Beek, Steve Van, 2016 (ฉบบั แปลภาษาไทย ไมม่ กี ารระบเุ ลขหนา้ ))
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในอดีตกับแม่น้�ำก่อให้เกิดภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมท่ียังคงสืบเนื่องมา
จนถงึ บรบิ ทรว่ มสมยั แมว้ า่ เสน้ ทางคมนาคมในรปู แบบตา่ งๆ จะเขา้ มาทดแทนเสน้ ทางนำ้� แลว้ กต็ ามที โดย
จะเห็นได้ว่าเม่ือเราเดินทางไปในพื้นท่ีซ่ึงมีแม่น้�ำ หรือล�ำคลองไหลผ่านก็จะพบการต้ังบ้านเรือนที่มีเสาสูง
ต้ังเรียงรายอยู่ตามแนวตลิ่งและสิ่งท่ียังคงเห็นอยู่ในหลายๆ แห่ง คือ ใช้เรือพายเป็นพาหนะเพื่อเดินทาง
ไปมาหาสู่กัน ทั้งยังมีแม่คา้ พอ่ ค้าพายเรือมาขายสินคา้ ดว้ ย บรรยากาศดงั กล่าวน้ไี ด้กลายเปน็ จินตภาพที่
ผคู้ นสว่ นใหญม่ รี ว่ มกนั เมอ่ื มกี ารกลา่ วถงึ พนื้ ทห่ี รอื ชมุ ชนรมิ นำ้� ทมี่ มี าแตเ่ กา่ กอ่ น ความพเิ ศษของสถานท่ี
ในลักษณะน้ีเป็นที่นิยมอย่างมากในหมู่นักท่องเที่ยวชาวไทยในบริบทร่วมสมัย เห็นได้จากความนิยมใน
การเดินทางไปท่องเที่ยวตลาดน้�ำ เช่น ตลาดน้�ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก
จงั หวดั ราชบรุ ี ตลาดนำ�้ ดอนหวาย จงั หวดั นครปฐม ทงั้ ยงั มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วรมิ นำ�้ อน่ื ๆ ทนี่ า่ สนใจ เชน่ บา้ น
เรือนแพในแม่น�้ำเจ้าพระยา จังหวัดอุทัยธานี ชุมชนโบราณริมฝั่งแม่น้�ำจันทบูร จังหวัดจันทบุรี ย่านการ
ค้าเก่าริมแม่น�้ำปัตตานี ที่ยังคงมีสถาปัตยกรรมแบบชิโนโปรตุกีส พื้นที่เหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีร่องรอยของ
อดีต ที่ปรากฏผ่านสถานที่ เรื่องราวซ่ึงเป็นเรื่องเล่าความสัมพันธ์กับสายน�้ำท่ีไหลผ่านก็ยังคงถูกเล่าขาน
ดงั กลา่ วนเี้ ปน็ สว่ นสำ� คญั ทชี่ ว่ ยใหผ้ ไู้ ปเยอื นมคี วามรสู้ กึ ถงึ ความพเิ ศษของสถานทน่ี นั้ ๆ ซงึ่ ไมเ่ หมอื นกบั ท่ี
อนื่ ๆ
ความรู้สึกแห่งสถานท่ีกับวิถีชายฝั่งทะเล
พ้ืนท่ีชายฝั่งทะเลเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีท�ำรายได้ให้แก่ประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง ดัง
กลา่ วนสี้ ามารถยนื ยนั ไดจ้ ากขอ้ มลู ทนี่ ำ� เสนอมาในหวั เรอื่ งกอ่ นหนา้ นี้ เหน็ ไดจ้ ากการเปน็ พน้ื ทเี่ พอ่ื การทอ่ ง
เที่ยวพักผ่อนของชนชั้นน�ำ ประชาชนคนไทยทั่วๆ ไป ไปจนถึงชาวต่างชาติ เมื่อพิจารณาถึงสภาพทาง
ภมู ศิ าสตรข์ องประเทศไทยแลว้ นน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ มพี นื้ ทตี่ ดิ ชายฝง่ั ทะเลในเขตพนื้ ทภี่ าคกลางและมพี น้ื ทตี่ ดิ
ชายฝง่ั ทะเล พร้อมท้งั มีเกาะน้อยใหญอ่ ย่ใู นพน้ื ท่ีทางภาคตะวันออกและภาคใต้