Page 36 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 36
2-26 วฒั นธรรมกับการท่องเทยี่ ว
มีคุณภาพ พร้อมท่จี ะจ่ายเงินจำ� นวนมากเพื่อซื้อสง่ิ อำ� นวยความสะดวก ม่งุ หวงั ใหธ้ รุ กิจทีต่ ิดต่ออยู่ประสบ
ความสำ� เรจ็ สามารถเบิกคา่ ใชจ้ ่ายจากบริษัทของตนเองได้
2.2.2 การท่องเที่ยวเพื่อการประชุม การจัดนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล
(Meeting, Incentive, Convention and Exhibition: MICE) เป็นสว่ นที่แยกออกมาจากการทอ่ งเทยี่ ว
เพอ่ื ธรุ กจิ กจิ กรรมทงั้ 4 ประเภทดงั กลา่ ว อาจไมไ่ ดม้ กี ารแบง่ แยกการจดั ออกจากกนั อยา่ งชดั เจน กลา่ วคอื
การจัดนิทรรศการนานาชาติ อาจมกี ารจัดการประชุมแทรกอยใู่ นงาน หรอื ผทู้ ีเ่ ดนิ ทางแบบการท่องเทยี่ ว
เพ่ือเปน็ รางวลั กอ็ าจมีการเข้าร่วมประชุมแทรกอย่กู ไ็ ด้
การทอ่ งเทย่ี วรปู แบบนไ้ี ดร้ บั ความสนใจทง้ั จากภาครฐั และเอกชนทวั่ โลก เนอ่ื งจากมองเหน็
รายได้ที่เกิดขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กล่าวคือ ผู้ที่มาท�ำกิจกรรมดังกล่าว มักเป็นนักท่องเท่ียวท่ีมี
ศักยภาพสูงและมีความสามารถในการใช้จ่ายมากกว่านักท่องเท่ียวท่ัวไป หากนักท่องเท่ียวกลุ่มนี้มีความ
ประทบั ใจและมปี ระสบการณ์ที่ดตี ่อแหลง่ ท่องเทยี่ วก็อาจเดินทางกลบั มาเทยี่ วซำ�้
2.3 การท่องเที่ยวตามความสนใจพิเศษ บ้างเรยี กวา่ Special Interest Tourism เกิดจากการ
ทนี่ กั ทอ่ งเทย่ี วบางกลมุ่ รสู้ กึ วา่ การเดนิ ทางเพยี งเพอ่ื ไปชมเมอื งหรอื ชมธรรมชาติ เปน็ รปู แบบทไ่ี มส่ ามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี วทซี่ บั ซอ้ นขนึ้ ไดอ้ กี ตอ่ ไป ความตอ้ งการในการทอ่ งเทยี่ วทหี่ ลากหลาย
และซับซอ้ นน้ี เปน็ เหตผุ ลหนงึ่ ท่ที ำ� ใหเ้ กดิ การท่องเทีย่ วเพื่อความสนใจพเิ ศษขน้ึ มา
ปัจจุบันการทอ่ งเท่ยี วตามความสนใจพเิ ศษหรือการท่องเท่ยี วเฉพาะทาง มรี ูปแบบท่ีแตกตา่ งกนั
มากมาย ในท่นี ี้ขอกล่าวถึง 5 รปู แบบ ดงั นี้
2.3.1 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เป็นการท่องเท่ียวอย่างมีความรับผิดชอบใน
แหลง่ ธรรมชาตทิ ม่ี เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ และแหลง่ วฒั นธรรมทเี่ กย่ี วเนอื่ งกบั ระบบนเิ วศ โดยมกี ระบวนการ
เรยี นรรู้ ว่ มกนั ของผเู้ กย่ี วขอ้ ง ภายใตก้ ารจดั การดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มและการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งมสี ว่ นรว่ มของทอ้ งถนิ่
เพ่ือมุ่งเน้นให้เกิดจิตส�ำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน แนวคิดของการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ท�ำให้
เกดิ กระแสการทอ่ งเทยี่ วเชงิ เกษตร (Agro-tourism) ขน้ึ มา หลายจงั หวดั ประสบความสำ� เรจ็ ในการจดั การ
ทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร และไดข้ ยายไปส่ภู าคตา่ งๆ ท่ัวประเทศไทย
ตัวอย่างการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย เช่น เที่ยวชมและร่วมกันปลูกป่าโกงกาง
ดูนกและเดนิ ปา่ ฝนเขตรอ้ นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ เทย่ี วชมทงุ่ ดอกทานตะวนั ทีจ่ ังหวัดลพบรุ ี เทยี่ วชม
สวนผลไม้ทจี่ งั หวัดจันทบรุ ี
2.3.2 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬา (Health and Sports Tourism) มีจุดมุ่งหมาย
เพอ่ื บำ� บดั โรค บำ� รงุ สขุ ภาพกายหรอื สขุ ภาพจติ รวมถงึ การออกกำ� ลงั กายหรอื การเลน่ กฬี าเพอ่ื รกั ษาสขุ ภาพ
นอกจากนย้ี งั หมายรวมถงึ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ ผจญภยั หรอื กง่ึ ผจญภยั ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในกจิ กรรมยอ่ ยของการเลน่
กฬี า การท่องเทยี่ วเชงิ สขุ ภาพและกฬี าเกยี่ วขอ้ งกบั กจิ กรรม 3 รปู แบบใหญ่ๆ คือ
1) การท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ (Health Tourism) เป็นการท่องเทีย่ วควบค่ไู ปกบั การ
ดูแลสขุ ภาพของนักท่องเท่ียว แบง่ ตามลักษณะสขุ ภาพของนักท่องเท่ียวเปน็ 3 ระดับ คอื การทอ่ งเทย่ี ว
เพอื่ การรักษาโรคของนกั เที่ยว การทอ่ งเท่ียวเพ่ือฟน้ื ฟสู ุขภาพของนกั ท่องเท่ียว การท่องเท่ยี วเพ่อื รกั ษา
สุขภาพของนกั ทอ่ งเท่ียวท่ดี ีอยแู่ ล้วให้ดยี ่งิ ขนึ้