Page 37 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 37

สาระและบรบิ ทเกี่ยวกบั การทอ่ งเทย่ี ว 2-27
                2) การทอ่ งเทยี่ วเชิงกฬี า (Sport Tourism) แบ่งรูปแบบออกเปน็ 2 ลกั ษณะตาม
วัตถุประสงค์ในการเลน่ กีฬา คือ การเลน่ กีฬาเพอ่ื สุขภาพ การเลน่ กีฬาเพอื่ การแข่งขัน
                3) การท่องเท่ียวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism) หรือกึ่งผจญภัย (Soft
Adventure) มงุ่ เน้นไปทคี่ วามตนื่ เต้นขณะท�ำกิจกรรม เชน่ การปนี เขา ไตห่ นา้ ผา การลอ่ งแกง่
            ตวั อยา่ งการท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพและกีฬาในประเทศไทย เช่น การรบั ประทานอาหารเพอื่
สขุ ภาพหรืออาหารล้างพษิ ทชี่ วี าศรม จังหวัดเพชรบุรี การนวดแผนโบราณทวี่ ดั โพธิ์ การแขง่ ขันไตรกฬี า
จงั หวดั ภเู ก็ต การฝกึ หดั พ้ืนฐานมวยไทย
            2.3.3 การท่องเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรม (Cultural Tourism) การท่องเท่ียวรูปแบบนี้
มีบทบาทต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยรวมค่อนข้างมาก เนื่องจากนักท่องเที่ยวสนใจและต้องการศึกษา
วัฒนธรรมของประเทศอนื่ ที่แตกตา่ งไปจากตน โดยผ่านการชมหรือสมั ผัสศลิ ปวฒั นธรรมแขนงต่างๆ เช่น
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หัตถกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ตลอดจนมรดกทาง
ประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ หมายถงึ โบราณสถาน และโบราณวตั ถุ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมมคี วามคลา้ ยคลงึ
กบั การทอ่ งเทย่ี วเชงิ ชาตพิ นั ธ์ุ แตกตา่ งกนั ตรงทก่ี ารทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การสมั ผสั
ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี โบราณวัตถุ โบราณสถาน ในขณะท่กี ารทอ่ งเทย่ี วเชงิ ชาตพิ นั ธ์ุใหค้ วามส�ำคัญ
กบั การเข้าไปสัมผัสกับวถิ ีชีวิตความเป็นอยขู่ องกล่มุ ชน
            ตัวอย่างการท่องเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย เช่น การชมพระบรมมหาราชวัง
และวดั พระแกว้ การชมจติ รกรรมฝาผนงั และศลิ ปกรรมตามวดั ตา่ งๆ การชมศลิ ปหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ การทอ
ผ้าไหม การจักสาน การท�ำเคร่ืองปั้นดินเผา การชมสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ อุทยาน
ประวัตศิ าสตร์พระนครศรอี ยุธยา อทุ ยานประวัตศิ าสตรส์ ุโขทยั -ศรีสชั นาลยั
            2.3.4	 การท่องเที่ยวเพ่ือสัมผัสชาติพันธุ์ (Ethnic Tourism) เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่
นักท่องเท่ียวต้องการเข้าไปสัมผัสวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ และภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจาก
ตวั นกั ทอ่ งเทย่ี ว ไมใ่ ชก่ ารสมั ผสั ผา่ นสง่ิ ประดษิ ฐท์ างวฒั นธรรมในพพิ ธิ ภณั ฑ์ ระดบั ของการสมั ผสั วฒั นธรรม
พนื้ ถน่ิ มี 2 รปู แบบ คอื 1) การสัมผัสชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพ้ืนถิ่นอย่างเต็มรูปแบบ โดยนกั ทอ่ งเทยี่ ว
ไปพ�ำนักอาศยั อยกู่ ับกลุม่ ชาติพนั ธ์แุ ละใช้ชวี ติ เหมอื นชนพนื้ เมอื งเป็นเวลาหลายวนั 2) การศึกษาเยี่ยมชม
กลุ่มชาติพันธุ์ในช่วงเวลาสั้นๆ เชน่ การเทยี่ วชมหมบู่ า้ นและรว่ มกจิ กรรมทางวฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ
การทอ่ งเทย่ี วเพอื่ สมั ผสั วถิ ชี วี ติ ไดร้ บั ความนยิ มเพม่ิ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ และเปน็ จดุ ขายทางการทอ่ งเทย่ี วของหลาย
ประเทศ โดยเฉพาะในแอฟริกาและเอเชีย ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวท้องถิ่นมากมายท่ีมีศักยภาพใน
การจดั การทอ่ งเทยี่ วในรปู แบบน้ี ถา้ มกี ารจดั การอยา่ งเหมาะสม การทอ่ งเทยี่ วรปู แบบนจ้ี ะเปน็ การทอ่ งเทย่ี ว
ที่สร้างรายได้ให้ภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ในทางตรงกันข้าม หากไม่มีการจัดการท่ีเหมาะสมหรือไมม่ ี
มาตรการรองรบั การทอ่ งเทย่ี วรปู แบบนกี้ อ็ าจจะเกดิ ผลกระทบอยา่ งรนุ แรง ทำ� ใหส้ งั คมหรอื ชมุ ชนทอ้ งถนิ่
เสยี สมดุลได้
            ตัวอย่างการท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสชาติพันธุ์ในประเทศไทย เช่น การชมวิถีชีวิตหรือการใช้
ชีวิตกับชาวบ้าน ได้แก่ หมู่บ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช หมู่บ้านเกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา
การเก็บมะพร้าวและสัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้านที่เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี การท�ำนาและสัมผัสวิถีชีวิต
ชาวนาไทย
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42