Page 12 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 12

10-2 ภาษาถ่นิ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

                  แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา		 ภาษาถิน่ และวรรณกรรมท้องถ่นิ ไทย
หน่วยท่ี 10 	 วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้
ตอนที่

       10.1 		ลักษณะวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ภาคใต้
       10.2 	วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคใตท้ ี่ส�ำคญั
       10.3 	ภาพสะทอ้ นสงั คมและวัฒนธรรมในวรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้

แนวคิด

       1. 	ตัวอักษรท่ีใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ คือ อักษรขอมไทยและอักษรไทยซ่ึงได้รับ
          อิทธิพลจากภาคกลาง แต่จะปรับอักขรวิธีไปตามเสียงพูดในภาษาไทยถิ่นใต้ วรรณกรรม
          มุขปาฐะใช้ค�ำประพันธ์ประเภทกลอน เพลง และบทสวด ส่วนวรรณกรรมลายลักษณ์มี
          คำ� ประพนั ธ์ประเภทกาพย์ กลอน โคลง และฉนั ท์เป็นส่วนใหญ่ วรรณกรรมมขุ ปาฐะมีเน้ือหา
          เกี่ยวกับธรรมชาติ ส่ิงเหนือธรรมชาติ วิถีชีวิตของผู้คน และวรรณกรรม ขณะท่ีวรรณกรรม
          ลายลกั ษณม์ เี นอื้ หาเกยี่ วกบั กฎหมาย ศาสนา ตำ� นาน ตำ� รา ความเชอื่ คำ� สอน นทิ านประโลม
          โลก นิทานชาดก ประวัติ และเบ็ดเตล็ด วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้จะใช้ถ้อยค�ำให้เกิดพลัง
          ทางสุนทรียภาพด้วยวิธีการเล่นเสียงเล่นค�ำ และสร้างสุนทรียภาพด้วยความหมายของลีลา
          ภาษาวรรณกรรมและความหมายของถ้อยค�ำให้มีความหมายในแต่ละแง่มุม วิธีการดังกล่าว
          ล้วนเป็นกลไกทางสุนทรียภาพท่ีท�ำให้วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้อุดมไปด้วยคุณค่าทาง
          วรรณศิลป์	

       2. 	ว รรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตเ้ รอ่ื งสำ� คญั เปน็ วรรณกรรมทเ่ี ปน็ เรอื่ งของทางภาคใตโ้ ดยเฉพาะ ไมซ่ า้ํ
          กับท้องถิ่นอ่ืน จ�ำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ วรรณกรรมมุขปาฐะท่ีสำ� คัญ ได้แก่ ปริศนาค�ำทาย
          เรื่องเล่า เพลงกล่อมเด็ก บทหนังตะลุงและโนรา ตลอดจนเพลงสมัยใหม่ มีรูปแบบการ
          สรา้ งสรรคท์ เ่ี ปน็ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง ซง่ึ มคี ณุ คา่ ในดา้ นอารมณ์ สงั คม และภมู ปิ ญั ญา สว่ น
          วรรณกรรมลายลกั ษณท์ สี่ ำ� คญั คอื จารกึ แผน่ ทองทปี่ ลยี อดพระมหาธาตเุ จดยี น์ ครศรธี รรมราช
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17