Page 17 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 17

วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ 10-7

เรื่องที่ 10.1.1
ตัวอักษรที่ใช้บันทึก

       ในอดตี นนั้ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตห้ ากมกี ารบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร กจ็ ะเรยี กวรรณกรรม
นน้ั ว่า วรรณกรรมลายลักษณ์ สว่ นวรรณกรรมจ�ำพวกเพลง นิทาน ตำ� นาน หรอื ปรศิ นาค�ำทาย ไมม่ ีการ
บนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรไว้ เราจะเรยี กวรรณกรรมเหลา่ นน้ั วา่ วรรณกรรมมุขปาฐะ ครน้ั เมอื่ เวลาผา่ น
ล่วงมาจนกระทั่งปัจจุบัน การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ทั้งลายลักษณ์และมุขปาฐะก้าวหน้าไปมาก
วรรณกรรมมุขปาฐะจากท่ีมิได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ ก็มีการบันทึกไว้ด้วยภาษาและอักษร
ไทยมาตรฐานปจั จบุ นั แตว่ รรณกรรมนนั้ กย็ งั เรยี กวา่ วรรณกรรมมุขปาฐะ เพราะแรกเรม่ิ เดมิ ทวี รรณกรรม
ดงั กล่าวถา่ ยทอดหรอื บันทกึ ผ่านการจดจำ� และเลา่ สบื ต่อกนั มาจากคนรุ่นหน่งึ สู่คนอีกรุ่นหน่งึ

       ตอ่ ไปนจ้ี ะกลา่ วถงึ ตวั อกั ษรทใ่ี ชบ้ นั ทกึ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ ผอู้ า่ นควรเขา้ ใจไวใ้ นเบอื้ งตน้ วา่
วรรณกรรมน้ันเป็นวรรณกรรมลายลักษณ์โบราณที่บันทึกด้วยตัวอักษรโบราณ จะไม่รวมถึงวรรณกรรม
ปจั จบุ นั ทใ่ี ชภ้ าษาและอกั ษรไทยปจั จบุ นั บนั ทกึ คำ� วา่ อักษรโบราณในทนี่ ี้ หมายถงึ ตวั อกั ษรทมี่ ใี ชใ้ นสงั คม
ไทยและสงั คมภาคใตส้ มัยโบราณ นบั ตั้งแต่สมยั สุโขทัย อยธุ ยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร์ ถงึ ชว่ งกอ่ นทจ่ี ะ
เปลี่ยนรูปลกั ษณอ์ ักษรดงั ท่ีเหน็ อย่ใู นสมยั ปจั จบุ นั

       อักษรที่ใช้บันทกึ วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้มี 2 ชนิด คอื อักษรขอมไทย และอกั ษรไทย อกั ษร
แต่ละชนดิ มรี ายละเอยี ดและตวั อยา่ ง ดังน้ี

1. 	อักษรขอมไทย

       อักษรขอมไทยทีใ่ ช้บนั ทกึ วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคใต้ เป็นตัวอกั ษรแบบเดียวกับท่ีใช้ในภาคกลาง
สมัยอยุธยา เนื่องจากได้ค้นพบจารึกทแี่ ผ่นทองหุ้มปลยี อดพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช พ.ศ. 2159
ในชว่ งรัชสมยั สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม สมัยอยธุ ยาตอนต้น และ พ.ศ. 2192 ตรงกับรชั สมัยสมเด็จพระเจา้
ปราสาททอง สมัยอยุธยาตอนกลาง

       อกั ษรขอมไทยในภาคใตแ้ ละภาคกลางนยิ มใชบ้ นั ทกึ พระธรรมคำ� สอนและวรรณกรรมพทุ ธศาสนา
ชาวภาคกลางและชาวปักษ์ใต้เช่ือกันว่าตัวอักษรขอมไทยเป็นตัวอักษรศักด์ิสิทธ์ิ อาจเป็นเพราะเป็น
ตัวอักษรท่ีใชบ้ นั ทกึ พระธรรมค�ำสอนและวรรณกรรมพทุ ธศาสนาก็เป็นได้

       ตัวอย่างการใช้อักษรขอมไทยบันทึกวรรณกรรมในท้องถ่ินภาคใต้ เช่น ตัวอย่างข้อความจาก
หนงั สอื บดุ ขาวหรอื สมดุ ไทยเรอ่ื ง “พระมาลยั ” ดงั ตอ่ ไปนี้ (กรรณกิ าร์ วมิ ลเกษม, 2558, น. 2-89 - 2-90)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22