Page 19 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 19

วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ 10-9
       2.2 อักษรไทยรัตนโกสินทร์ นับต้ังแต่ตั้งกรงุ ธนบุรี พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็
ทรงเริ่มฟื้นฟูบ้านเมืองในทุกด้าน ด้านภาษา อักษร และวรรณกรรม หลังจากที่หมดส้ินไปเมื่อคราว
เสียกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็ได้รับการฟื้นฟูสร้างสรรค์ขึ้นใหม่จนกระทั่งเป็นปึกแผ่นม่ันคงในสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์ ดินแดนทางภาคใต้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ก็รับเอาวัฒนธรรม
การเมอื งการปกครอง รวมทงั้ ภาษาและวรรณคดไี ปจากภาคกลางหรอื เมอื งหลวงแลว้ ปรบั เปลยี่ นใหเ้ หมาะ
กบั องคป์ ระกอบของความเป็นท้องถ่ินภาคใต้
       ในดา้ นวรรณกรรมลายลกั ษณก์ ใ็ ชต้ วั อกั ษรไทยซงึ่ เปน็ แบบเดยี วกบั ตวั อกั ษรไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ในการบนั ทกึ แตร่ ปู ลกั ษณข์ องตวั อกั ษรจะแตกตา่ งกนั บา้ งตามลายมอื ของผเู้ ขยี น สว่ นดา้ นอกั ขรวธิ กี ป็ รบั
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สำ� เนยี งของถอ้ ยคำ� ทพี่ ดู ในภาษาไทยถนิ่ ใต้ รปู แบบของตวั อกั ษรไทยทใี่ ชใ้ นทอ้ งถนิ่ ภาคใต้
จะมอี ายเุ กา่ สดุ ประมาณสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เปน็ ตน้ มา (วโิ รจน์ ผดงุ สนุ ทรารกั ษ,์
2547, น. 121) หลงั จากนนั้ กป็ รบั เปลย่ี นไปตามรปู แบบของอกั ษรไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรย์ คุ ตอ่ มาจนกระทง่ั
ระบบการพิมพเ์ รมิ่ แพรห่ ลาย แล้วหยดุ คัดลอกวรรณกรรมดว้ ยลายมือ แต่จะใช้การพิมพ์สมัยใหมจ่ วบจน
ปัจจบุ นั
       ตัวอย่างข้อความวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ท่ีใช้ตัวอักษรไทยรัตนโกสินทร์บันทึก เช่น เร่ือง
“พระยาชมพู” (2527) ดงั ตอ่ ไปน้ี

	 อยู่ใน 	 ซ่ึงเงื้อมมือนี้แห่งเรา 	 แล้วเท่าเสด็จไป
	 แลเห็นเครื่องอันพรายเพรา 	 อันงามพ้นที่เดา
	 ย่อมเป็นแสงพรรณราย 	 จึงนางวิมาลา 	 ก็กล่าวถ้อยค�ำภิปราย

	  ท่านมาน้ีเที่ยงสาย 	  เชิญเสวยแล้วจรไป
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24