Page 18 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 18

10-8 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถน่ิ ไทย

	                เมื่อนั้น 	 ชาวชมพู 	    ช่ืนชมอยู่ 	     สนุกทั้งผอง

	                ไพบูลย์ 	 ด้วยเงินทอง 	  เกิดทุนทรัพย์ 	 ข้ึนม่ังมี

2. 	อักษรไทย

       ตัวอักษรไทยที่ใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้มี 2 แบบ คือ อักษรไทยย่อ และอักษรไทย
รัตนโกสนิ ทร์ ซึ่งใชบ้ นั ทกึ วรรณกรรมทีม่ ิได้มเี นอ้ื หาเกี่ยวขอ้ งกบั พทุ ธศาสนา นทิ าน และพงศาวดาร ตวั
อักษรไทย 2 แบบดงั กลา่ วมีรายละเอียดดงั นี้

       2.1 	อักษรไทยย่อ ตัวอักษรไทยย่อสมัยกรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ประมาณ พ.ศ. 2231 เปน็ ตัวอกั ษรแมแ่ บบของตัวอักษรทใี่ ช้บันทึกวรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้ ทั้งนเ้ี พราะ
ทอ้ งถน่ิ ภาคใต้เป็นสว่ นหน่งึ ของอาณาจักรอยธุ ยานัน่ เอง

       สัณฐานของตัวพยัญชนะไทยย่อเป็นทรงเหล่ียม เส้นตรง หักเหลี่ยมหักมุมเพื่อความประณีต
สวยงามคลา้ ยกบั ตวั อกั ษรขอมไทย ตรงปลายเสน้ อกั ษรจะยอ่ มมุ หกั ปลายเพอ่ื ความสวยงามเหมอื นอกั ษร
ขอมบรรจงหรอื ขอมจารกึ (ธวชั ปณุ โณทก, 2553, น. 236) ชาวปกั ษใ์ ตจ้ ะเรยี กตวั อกั ษรไทยยอ่ วา่ ตวั ผด
เพราะเส้นตัวอักษรมว้ นเข้าหากันและตวัดหางสวยงาม (ประพนธ์ เรืองณรงค,์ 2541, น. 123) คำ� ว่า ผด
ในภาษาไทยถิน่ ใต้ หมายถึง มว้ นเข้าหากนั

       วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ท่ีบันทึกด้วยตัวอักษรไทยย่อ เช่น พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช
และวรรณกรรมเร่ือง “สุบิน” ตัวอย่างตัวอักษรไทยย่อ เช่น ข้อความตัวอย่างเรื่อง “สุบิน” ดังต่อไปนี้
(กรรณิการ์ วมิ ลเกษม, 2558, น. 2-89 - 2-90)

	 เล็งแลให้สุด		 ในแว่นแคว้นมนุษย์		 บรรดาซ่ึงอยู่
ฝ่ายข้างมสณะ	    ลูกพระสัพพัญญู	          นักเรียนพระครู	  สามเณรนางชี
	 องค์ใดศรัทธา		 ทรงศีลศาสดา		 ด้วยใจยินดี                 แสวงมรรคผล
อยู่ตามบัญญัติ	  อาบัติไม่มี	             ส�ำรวมอินทรีย์	
	 อดส่าห์เล่าเรียน		 นิคหิต...
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23