Page 20 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 20

10-10 ภาษาถ่นิ และวรรณกรรมทอ้ งถ่ินไทย
       อักษรไทยรัตนโกสินทร์ที่ใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ จะใช้แพร่หลายมากกว่าตัวอักษร

ชนิดอืน่ คอื อักษรขอมไทย และอักษรไทยยอ่ อักษรไทยรัตนโกสินทรน์ ้จี ะใชบ้ นั ทกึ วรรณกรรมประเภท
นิทานประโลมโลกหรือนิทานจักรๆ วงศ์ๆ นอกจากน้นั ยงั ใช้บนั ทึกข้อเขียนทว่ั ไปดว้ ย	

       การบนั ทกึ วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตด้ ว้ ยอกั ษรไทยรตั นโกสนิ ทรน์ น้ั บางครง้ั ใชส้ ลบั ตวั อกั ษรขอม
ไทย แต่อกั ษรขอมไทยทบี่ นั ทึกนนั้ เป็นถอ้ ยค�ำสั้นๆ แตต่ วั อกั ษรส่วนใหญจ่ ะเปน็ อักษรไทยรตั นโกสินทร์
กิจกรรม 10.1.1

       1.	 โดยสรปุ อักษรทใี่ ช้บนั ทึกวรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้มีกช่ี นิด และตวั อกั ษรชนิดใดใช้มากทส่ี ดุ
       2. 	เหตุใดตัวอักษรท่ีใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้จึงเป็นแบบเดียวกับตัวอักษรของ
อาณาจกั รภาคกลางของไทย
แนวตอบกิจกรรม 10.1.1
       1. 	อักษรทีใ่ ช้บันทกึ วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้มี 3 แบบ คือ อักษรขอมไทย อักษรไทยย่อ และ
อกั ษรไทยรัตนโกสินทร์ โดยอกั ษรทใ่ี ช้แพร่หลายมากทส่ี ุดคอื อกั ษรไทยรตั นโกสนิ ทร์
       2. 	เหตุท่ีตัวอักษรซึ่งใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้เป็นแบบเดียวกันกับตัวอักษรท่ีใช้อยู่ใน
อาณาจกั รภาคกลางของไทยนนั้ เนอ่ื งจากดนิ แดนทางภาคใตเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รภาคกลางมาตงั้ แต่
สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ การใช้อักษรแบบดังกล่าวจึงใช้ตามแบบท่ีผู้ปกครองใช้ แต่จะปรับ
อักขรวธิ ใี หส้ อดคลอ้ งกับสำ� เนยี งในภาษาพูดของชาวปกั ษใ์ ต้

เรื่องที่ 10.1.2
ลักษณะค�ำประพันธ์

       วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตม้ ที งั้ ทใี่ ชค้ ำ� ประพนั ธป์ ระเภทเปน็ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง ประเภทรอ้ ยแกว้
จะเปน็ เรอ่ื งเลา่ ซง่ึ ใชภ้ าษาไทยถนิ่ ใตพ้ ดู หรอื เขยี นโดยไมม่ ขี อ้ กำ� หนดเรอ่ื งการใชค้ ำ� วา่ คำ� จะมจี ำ� นวนเทา่ ใด
มีจ�ำนวนก่ีวรรค ค�ำใดจะต้องสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ขึ้นต้นและลงท้ายด้วยค�ำใด ผู้พูดหรือผู้เล่า และ
ผู้เขียนสามารถใช้ภาษาถ่ายทอดเร่ืองราวได้อย่างอิสระตั้งแต่เร่ิมต้นไปจบจบเรื่อง วรรณกรรมประเภท
ร้อยแก้ว เช่น นิทาน ต�ำนาน และพงศาวดาร ส่วนประเภทร้อยกรอง จะมีข้อก�ำหนดในเร่ืองจ�ำนวนค�ำ
จ�ำนวนวรรค ค�ำท่ีตอ้ งสัมผสั คลอ้ งจองกัน รวมท้ังบางชนิดจะต้องใช้ค�ำขน้ึ ตน้ และคำ� ลงท้ายตามทีก่ ำ� หนด
ด้วย ค�ำประพนั ธ์ประเภทร้อยกรอง เชน่ กลอนหนังตะลุง กลอนโนรา และเพลงกลอ่ มเดก็
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25