Page 15 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 15

วรรณกรรมท้องถน่ิ ภาคใต้ 10-5

ตอนที่ 10.1
ลักษณะวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้

โปรดอา่ นหัวเรื่อง แนวคดิ และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 10.1 แลว้ จึงศกึ ษารายละเอยี ดตอ่ ไป

  หัวเร่ือง

         10.1 ตวั อักษรท่ีใชบ้ ันทกึ
         10.2 ลกั ษณะค�ำประพนั ธ์
         10.3 เน้ือหา
         10.4 สุนทรียภาพ

  แนวคิด

         1. 	ตัวอักษรทใ่ี ชบ้ นั ทกึ วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ใตท้ ้งั 2 ชนิด คืออกั ษรขอมไทย และอักษรไทย
            ซ่ึงมี 2 แบบ คือ อักษรไทยย่อ และอักษรไทยรัตนโกสินทร์ โดยได้รับอิทธิพลจาก
            ภาคกลางแตจ่ ะปรบั อกั ขรวธิ ไี ปตามเสยี งพดู ในภาษาไทยถนิ่ ใต้ ตวั อกั ษรไทยรตั นโกสนิ ทร์
            ปรากฏใช้แพร่หลายมากท่สี ดุ

         2. 	ว รรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตท้ ง้ั มขุ ปาฐะและลายลกั ษณใ์ ชร้ ปู คำ� ประพนั ธแ์ ตกตา่ งกนั โดย
            วรรณกรรมมุขปาฐะใช้ค�ำประพันธ์ประเภทกลอน เพลง และบทสวด ส่วนวรรณกรรม
            ลายลกั ษณม์ คี ำ� ประพนั ธท์ ใ่ี ชเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ คอื กาพย์ กลอน โคลง และฉนั ท์ คำ� ประพนั ธ์
            ประเภทกลอนในวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์แม้จะเรียกเหมือนกัน
            แต่ลักษณะขอ้ บงั คบั ทางฉันทลักษณแ์ ตกตา่ งกัน

         3. 	เนื้อหาของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้จะแตกต่างไปตามประเภทของวรรณกรรมคือ
            มุขปาฐะและลายลักษณ์ วรรณกรรมมุขปาฐะมีเน้ือหาเกี่ยวกับธรรมชาติ ส่ิงเหนือ
            ธรรมชาติ วิถีชีวิตของผู้คน และวรรณกรรม ขณะท่ีวรรณกรรมลายลักษณ์มีเนื้อหา
            เกย่ี วกบั กฎหมาย ศาสนา ตำ� นาน ตำ� รา ความเชอ่ื คำ� สอน นทิ านประโลมโลก นทิ านชาดก
            ประวัติ และเบ็ดเตลด็

         4. 	ส นุ ทรยี ภาพในวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตเ้ ปน็ การใชถ้ อ้ ยคำ� ใหเ้ กดิ พลงั ทางสนุ ทรยี ภาพ
            ดว้ ยวธิ กี ารเลน่ เสยี งและเลน่ คำ� การเลน่ เสยี งเปน็ การเลน่ เสยี งในคำ� ดว้ ยการใชค้ ำ� สมั ผสั
            สระและสัมผัสอักษร และเล่นนํ้าเสียงหนักเบาของค�ำ ส่วนการเล่นค�ำจะเป็นการซํ้าค�ำ
            หลากค�ำ และผวนค�ำ นอกจากนั้นจะสร้างสุนทรียภาพด้วยความหมายของลีลาภาษา
            วรรณกรรมทเ่ี ปน็ เสาวรจนี นารปี ราโมทย์ พโิ รธวาทงั และสลั ลาปงั คพสิ ยั หากใชค้ วาม
            หมายของถอ้ ยคำ� ให้มคี วามหมายในแต่ละแงม่ มุ กจ็ ะได้บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20