Page 21 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 21

วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 10-11
       ลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ท่ีกล่าวถึงในที่นี้จะกล่าวถึงค�ำประพันธ์ที่เป็น
รอ้ ยกรองเท่านนั้ เพราะมรี ปู แบบหลากหลายและขอ้ กำ� หนดทางฉันทลักษณท์ แ่ี ตกตา่ งกัน โดยแบง่ เปน็ 2
ประเด็น คือ ลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรมมุขปาฐะ และลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรม
ลายลกั ษณ์ ดงั น้ี

ลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรมมุขปาฐะ

       วรรณกรรมมขุ ปาฐะของทอ้ งถน่ิ ภาคใตท้ เ่ี ปน็ รอ้ ยกรองและสบื สรรคต์ อ่ กนั มาดว้ ยการเลา่ นน้ั มหี ลาย
ชนดิ แต่ค�ำประพันธท์ ีม่ รี ปู แบบเป็นท่นี ิยมโดยท่ัวไปมี 3 ประเภท ไดแ้ ก่ กลอน เพลง และบทสวด แตล่ ะ
ประเภทมีประเภทยอ่ ยและรายละเอยี ดดังน้ี	

       1. กลอน ลักษณะค�ำประพันธ์ประเภทกลอนมิได้เป็นฉันทลักษณ์แบบใดแบบหนึ่ง หากแต่มีค�ำ
ประพนั ธห์ ลายรปู แบบรวมกนั แลว้ เรยี กรวมๆ วา่ กลอน ค�ำประพนั ธป์ ระเภทกลอนในวรรณกรรมมขุ ปาฐะ
ท้องถิ่นภาคใต้ท่ีส�ำคัญและแพร่หลายมี 4 ประเภท คือ กลอนหนังตะลุง กลอนโนรา กลอนค�ำตัก และ
กลอนลเิ กป่า ดงั นี้

            1.1 	กลอนหนังตะลุง การแสดงหนังตะลุงเม่ือต้องขับเป็นท�ำนองร้อยกรอง ค�ำขับน้ันจะ
เรียกว่ากลอนหนังตะลุง ในกลอนหนังตะลุงใช้ฉันทลักษณ์ค�ำประพันธ์หลากหลายไปตามขนบและกลวิธี
การแสดง

            ครน้ั เรมิ่ ตน้ แสดงจะมกี ารไหวค้ รู นายหนงั เชดิ ตวั หนงั ฤๅษพี รอ้ มกบั ขบั บทฤๅษี คำ� ประพนั ธ์
ในช่วงนี้นิยมใช้ฉันทลักษณ์ประเภทร่ายโบราณ เม่ือไปถึงบทพระอิศวรทรงโค จะใช้ฉันทลักษณ์ของ
ค�ำประพนั ธป์ ระเภทกาพยฉ์ บับ 16 เมอื่ ถงึ บทตอ่ ไปน้ี คอื บทปรายหน้าบท บทเกี้ยวจอ บทต้ังนามเมือง
บทยักษ์ และบทเทวดา จะใช้ฉันทลักษณ์กลอน 8

            บทปรายหน้าบทเรียกว่าออกรูปกาดหรือกาศ ค�ำว่า กาด หมายถึงอาราธนาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ
ส่วนกาศ หมายถึงประกาศ คนท่ีท�ำหนา้ ทก่ี าดหรอื กาศน้นั มักเป็นเพศชายออกมาทำ� หน้าท่แี ทนนายหนงั
ถือดอกบัวหรือดอกไม้มาสวัสดีผู้ชม แล้วนายหนังจะขับกลอนส้ันๆ เพ่ือแสดงความเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์
สง่ิ ทตี่ นนบั ถอื และแสดงคารวะตอ่ เจา้ ภาพดว้ ย เมอ่ื ปรายหนา้ บทเสรจ็ แลว้ กจ็ ะถงึ บทเกยี้ วจอ เปน็ บทกลอน
สัน้ ๆ ใหค้ ติสอนใจ	

            ขณะด�ำเนินเร่ืองไปน้ันจะมีบทยักษ์และบทเทวดา ในบทยักษ์มักใช้ค�ำตาย เช่น รัก โลก
มาก โสต เป็นค�ำรับสง่ สัมผัสเพ่อื ใหส้ ำ� นวนกลอนมีความหนักแน่นเข้มแขง็ ดดุ ัน เหมาะสมกบั ความเป็น
บทยักษ์ ส่วนบทเทวดาซึ่งส่วนใหญ่จะออกรูปตัวหนังเป็นพระอินทร์ มักใช้กลอนกลบทสะบัดสะบิ้ง เช่น
“เสยี งโครมโครมครนื้ คร่นั สน่ันสนัด ดงั ทิพยร์ ตั นอ์ มรินทรจ์ ะหมีนจะเหมอื น จะพรากแยกแตกพลัดกระจัด
กระเจอื น ดงั ดาวเดือนลอยลดั จะจดั จะจาย” (ประพนธ์ เรืองณรงค,์ 2541, น. 56)

            นอกจากนี้ในกลอนหนังตะลุงบทอ่ืน ๆ นายหนังจะใช้ฉันทลักษณ์ของกลอน 4 กลอน 6
กลอน 3-5 กลอนลอดโหมง่ และกลอนทอย โดยกลอน 4 บทหนง่ึ มี 4 วรรค วรรคละ 4 ค�ำ กลอน 6 จะ
มี 4 วรรค เชน่ กัน วรรคหนึง่ มี 6-8 คำ� คลา้ ยกลอน 8 สว่ นกลอน 3-5 บทหนง่ึ มี 8 วรรค วรรคละ 8 คำ�
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26