Page 26 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 26

10-16 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมท้องถ่นิ ไทย

ตัวอย่างเพลงกล่อมเดก็ ทบี่ ทหนึง่ มี 8 วรรค เช่น

	 	 ครือน้องเหอ	                        ครือม่วงหิมพานต์
	 สุกงอมหอมหวาน	                        อยู่กลางเลแม่นํ้าหลวง
	 พ้นลีงพ้นค้าง	 	                      พ้นพวกฝูงสัตว์ท้ังปวง	
	 อยู่กลางเลแม่น้ําหลวง	                พ้นเข้เหราใหญ่เหอ
	 (เล = ทะเล, ลีง = ลิง, เข้ = จระเข้)

            2.3 เพลงนา เพลงนาเป็นเพลงประเภทหนึ่งที่ร้องโต้ตอบกันระหว่างชายหญิง แต่เดิมใช้
ขบั รอ้ งในขณะเกยี่ วขา้ วในนา เพอื่ ความสนกุ สนานและผอ่ นคลายความเหนด็ เหนอื่ ยจากการทำ� งาน ตอ่ มา
ไดร้ ับความนยิ มมากขึน้ จงึ นำ� มาเล่นในงานวัด งานรืน่ เริง และงานมงคลต่างๆ

            ฉันทลักษณข์ องเพลงนาบทหนึ่งจะมตี ง้ั แต่ 4-8 วรรค วรรคละ 4-8 คำ� มีการรับส่งสัมผสั
คล้ายเพลงบอก กาพย์ยานี 11 หรือกลอน 8 ตัวอย่างเพลงนาเช่นบทร้องไหว้ครู ขับร้องโดยนายนับ
นาคคลา้ ย ต�ำบลเลม็ด อำ� เภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี (เอนก นาวิกมลู , 2542, น. 325)

	 	 ยอไหว้ยอไหว้	                       โลอ์จะยอไหว้เจ้าของนา
	 บรรดาศักด์ิสิทธิ์	 	                  โลอ์จะไหว้ท่ัวทิศา
	 วันนี้กล่าวพร่อง	 	                   โลอ์จะร้องเพลงนา
	(รับ สาระแท้ สาระแท้	                  รักจริงรักแน่แหละแม่ทองบุปผา
	 วันนี้กล่าวพร่อง		                    โลอ์จะร้องเพลงนา)
	 (โลอ์ = ลูก)

            2.4 เพลงตันหยง นอกจากเรียกว่าเพลงตนั หยงแล้ว เรียกว่า “เพลงรอ็ งเง็ง” หรือ “เพลง
หลอ้ แหงง็ ” กไ็ ด้ มกั เลน่ ในแถบจงั หวดั ชายฝง่ั ทะเลตะวนั ตก เชน่ กระบี่ ภเู กต็ และพงั งา ฉนั ทลกั ษณข์ อง
เพลงบทหน่ึงมี 8 วรรค วรรคละ 7-10 ค�ำ วรรคแรกขึน้ ต้นวา่ “บหุ งาตนั หยง” จงึ เรียกเพลงนี้วา่ “เพลง
ตันหยง”

            ตวั อยา่ งเพลงตันหยง เช่น (ประพนธ์ เรืองณรงค์, 2541, น. 89)	

	 	 บุหงาตันหยง	                        หยงไหรละน้องหยงดอกข้ีเตรย
	 คิดแล้วสงสารตัวเราเอย	                ข้ีเตรยเลื้อยลามมาตามติด
	 ลูกเขาเมียเขา	 	                      มาผูกรักกับเราไม่ใคร่ติด
	 ขี้เตรยเลื้อยลามมาตามติด	             ยังไม่หนิดน้องเหอ...เหมือนเมียเอย...
	 (ไหร = อะไร, ข้ีเตรย = หญ้าเจ้าชู้, หนิด = สนิท)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31